ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
จังหวัดตรัง
2
ข้อมูลไข้เลือดออกประเทศไทย
ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 30 มี.ค. 2556 ได้รับรายงาน 17,973 ราย อัตราป่วย ต่อแสนปชก. เสียชีวิต 19 ราย อัตราตาย ต่อแสนปชก. (สงขลา 6 ราย ,นครศรีธรรมราช 2 ราย , สุรินทร์ 2 ราย สมุทรปราการ 2 ราย ,กรุงเทพฯ 1 ราย ,เชียงใหม่ 1 ราย ,นครปฐม 1 ราย ,ยะลา 1 ราย ,ปัตตานี 1 ราย ประจวบคีรีขันธ์ 1 ราย ,ระยอง 1 ราย) จังหวัดตรัง ลำดับที่ 20 ของประเทศ จังหวัด
3
ข้อมูลไข้เลือดออกเขต 12
ตั้งแต่ 1 ม.ค. – 30 มี.ค. 2556 ได้รับรายงาน 2,742 ราย อัตราป่วย ต่อแสนปชก. มีรายงานผู้เสียชีวิต 8 ราย (สงขลา 6 ราย ยะลา 1 ราย ปัตตานี 1 ราย) อัตราป่วยต่อแสน จังหวัด
4
อัตราป่วยไข้เลือดออกจังหวัดตรัง ปีพ.ศ.2535 - 2556
5
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง จำแนกเป็นรายเดือน ปี 2550 – เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
6
ข้อมูลไข้เลือดออก จังหวัดตรัง
ตั้งแต่วันที่ 1 – 30 มีนาคม 2556 จำนวน ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต อัตราป่วย ต่อแสนปชก. มากเป็น 2.38 เท่า ของปี 2555 ในช่วงเวลาเดียวกัน
7
จำนวนป่วย อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ รายเดือน จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2555 อำเภอ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม อัตรา เมือง 15 9 16 25 53 43 45 37 22 26 33 340 222.76 กันตัง 3 10 20 17 4 13 2 7 11 6 118 137.61 หาดสำราญ 1 135.58 นาโยง 5 57 131.03 ย่านตาขาว 8 66 104.67 ปะเหลียน 54 81.90 วังวิเศษ 24 57.25 ห้วยยอด 47 50.54 สิเกา 18 49.29 รัษฎา 35.51 30 29 115 101 76 79 36 62 756 120.63
8
จำนวนป่วย อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกแยกรายอำเภอ รายเดือน จังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 มีนาคม 2556 อำเภอ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม อัตรา เมือง 49 31 17 97 63.55 หาดสำราญ 6 2 1 9 55.47 กันตัง 14 5 8 27 31.49 ห้วยยอด 23 24.73 ปะเหลียน 13 19.72 สิเกา 7 19.17 ย่านตาขาว 3 11 17.45 วังวิเศษ 16.70 นาโยง 4 13.79 รัษฎา 7.10 98 57 47 202 32.23
9
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ
ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556
10
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ
ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556
11
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ
ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 – มีนาคม 2556
12
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง จำแนกเป็นรายเดือน ปี 2556 (ณ 30 มีนาคม 2556) เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2551 – 2555)
13
อัตราป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกจำแนกตามกลุ่มอายุ จังหวัดตรัง เปรียบเทียบปี 2554 – 2556 ( ณ วันที่ 30 มีนาคม 2556 )
14
สัปดาห์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ของจังหวัดตรัง สัปดาห์ที่ 1 - 13
ตั้งแต่ 1 มกราคม – 30 มีนาคม 2556
15
แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค
คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556 ให้ทุกกระทรวงดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดกิจกรรมขั้นต่ำที่ควรเกิดขึ้นในพื้นที่ ดังนี้ ให้ความสำคัญกับโรคไข้เลือดออก หากสถานการณ์ระบาดเกิดขึ้นมากกว่า 2 อำเภอ ให้พิจารณาจัดตั้งศูนย์ปฎิบัติการไข้เลือดออกและพิจารณาประกาศเขตภัยพิบัติ หากมีการระบาดเกิน 4 สัปดาห์ในพื้นที่มากกว่า 2 อำเภอ หน่วยงานในส่วนภูมิภาคของกระทรวงต่างๆ ในจังหวัด เช่น โรงเรียน อบจ./เทศบาล/อบต. จัดกิจกรรมกำจัดลูกน้ำในพื้นที่ อย่างเร่งด่วนตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง เดือนมิถุนายน 2556 ทีม SRRT ระดับตำบลและอำเภอ เฝ้าระวัง ป้องกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายร่วมกับอสม. และเฝ้าระวังสอบสวนผู้ป่วยตามแนวทางที่กรมควบคุมโรคกำหนด
16
แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของอสม. และข้อมูลที่ได้จากระบบเฝ้าระวังผู้ป่วย เพื่อกำหนดพื้นที่และกิจกรรมเร่งด่วนของอำเภอ จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ให้เพียงพอต่อการควบคุมการระบาดของโรค ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงาน/ประชาชนกำจัดลูกน้ำภายในบ้านทุกสัปดาห์ (5 ป 1 ข) และป้องกันตนเองไม่ให้ยุงกัด โดยใช้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เช่น ตะไคร้หอมกันยุง ป้องกันยุงกัด
17
แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค
สำนักงานสาธารณสุขเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 12 กำหนดให้มีการรณรงค์โรคไข้เลือดออก ครั้งที่ 1 วันที่ 25 – 31 มีนาคม 2556 ครั้งที่ 2 วันที่ 20 – 27 เมษายน 2556 ครั้งที่ 3 วันที่ 10 – 17 พฤษภาคม 2556 ครั้งที่ 4 วันที่ 10 – 17 มิถุนายน 2556
18
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.