ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
152-212 Electrical Circuit Analysis 2
Asst.Prof. Wipavan narksarp Siam University
2
การวิเคราะห์สัญญาณไซน์ที่สภาวะคงตัว Sinusiodal Steady-State Analysis
สัปดาห์ที่ 1 การวิเคราะห์สัญญาณไซน์ที่สภาวะคงตัว Sinusiodal Steady-State Analysis (Part I)
3
จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถเขียนสมการความสัมพันธ์ของสัญญาณไซน์ได้ นำทฤษฎีของตัวแปรเชิงซ้อนมาประยุกต์ใช้กับวงจรไฟฟ้า หาค่าของอิมพิแดนซ์และแอดมิดแตนซ์ได้ นำกฎของโอห์ม กฎของเคอร์ชอฟฟ์วิเคราะห์วงจร โดยใช้เฟสเซอร์ได้
4
เนื้อหา สัญญาณไซน์ จำนวนเชิงซ้อน เฟสเซอร์ แอดมิดแตนซ์และอิมพีแดนซ์
5
สัญญาณไซน์ (Sinusoids)
สัญญาณไซน์เป็นสัญญาณรายคาบชนิดหนึ่งที่เป็นรูปคลื่นไซน์ (sine) หรือรูปคลื่นโคไซน์ (cosine)
6
= นำหน้า(leading) = นำหน้า ตามหลัง(lagging) = เมื่อ
7
เปรียบเทียบกัน = = ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้แรงดัน V และแรงดัน V
(ข) จงหาความถี่ในหน่วยของเฮิรตซ์ (Hz) (ค) จงหาความสัมพันธ์ของมุมเฟสของแรงดันว่าเกิดการนำหน้าหรือตามหลังเป็นเท่าไร (ก) จงหาขนาดของแรงดัน วิธีทำ = 10 V ขนาดของแรงดัน ขนาดของแรงดัน = 4 V เปรียบเทียบกัน = นำหน้า = ตามหลัง
8
ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้แรงดัน
V กระแส A (ก) จงหาคาบเวลา (ข) ขนาดของแรงดัน และขนาดของกระแส (ค) จงหาความสัมพันธ์ของมุมเฟสของสองสัญญาณนี้ ว่าเกิดการนำหน้าหรือตามหลังเป็นเท่าไร วิธีทำ ขนาดของแรงดัน =10 V ขนาดของกระแส =5 A แรงดันนำหน้ากระสอยู่ กระแสตามหลังแรงดันอยู่
9
ตัวอย่างที่ 3 จงแปลงฟังก์ชันต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของฟังก์ชันโคไซน์
(ก) (ข) วิธีทำ (ก) (ข)
10
จำนวนเชิงซ้อน (complex numbers)
พิกัดฉาก (rectangular form) พิกัดเชิงขั้ว (polar form) =
11
คุณสมบัติของจำนวนเชิงซ้อน
กำหนดให้ และ การบวกและลบจะใช้พิกัดฉาก การคูณจะใช้พิกัดเชิงขั้ว การหาร จะใช้พิกัดเชิงขั้ว
12
ตัวอย่างที่ 4 จงเปลี่ยนตัวเเปรเชิงซ้อนในพิกัดฉากให้เป็นพิกัดเชิงขั้ว
พร้อมทั้งวาดกราฟความสัมพันธ์ของพิกัดทั้งสองบนระนาบเชิงซ้อน (ข) (ค) (ง) (ก) วิธีทำ (ก) (ข) (ค) (ง)
13
กราฟความสัมพันธ์ของจำนวนเชิงซ้อนบนระนาบเชิงซ้อนตัวอย่างที่ 4
14
ตัวอย่างที่ 5 กำหนดให้ (ก) จงหา (ข) จงหา วิธีทำ (ก) (ข)
15
เฟสเซอร์ (Phasor) เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ประกอบด้วยขนาดและมุมเฟสในโดเมนความถี่ ใช้เขียนแทนสัญญาณในโดเมนเวลา การเขียนเฟสเซอร์แทนสัญญาณไซน์ ตัวอย่างที่ 6 จงแปลงฟังก์ชันไซน์ที่แปรตามเวลาให้เป็นเฟสเซอร์ (ก) (ข) (ข) (ก) วิธีทำ ตัวอย่างที่ 7 จงแปลงเฟสเซอร์ต่อไปนี้ให้เป็นฟังก์ชันในโดเมนเวลาที่ความถี่ (ก) (ข) วิธีทำ (ก) (ข)
16
สมการความสัมพันธ์ของอุปกรณ์แบบพาสซีฟ
สมการในโดเมนเวลา สมการในโดเมนความถี่ อุปกรณ์ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ
17
กราฟความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแสของตัวต้านทานในโดเมนเวลาและโดเมนความถี่
18
กราฟความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแสของตัวเหนี่ยวนำในโดเมนเวลาและโดเมนความถี่
19
กราฟความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแสของเก็บประจุในโดเมนเวลาและโดเมนความถี่
20
ตัวอย่างที่ 8 กระแสเฟสเซอร์
mA ที่ไหลผ่านตัวต้านทาน จงหาแรงดันตกคร่อมตัวต้านทานแปรตามเวลากำหนดให้ความถี่เป็น 50 Hz วิธีทำ ความถี่เชิงมุม แรงดันที่แปรตามเวลา
21
ตัวอย่างที่ 9 ตัวเหนี่ยวนำ L = 0.05 H กระแสเฟสเซอร์
A กำหนดให้ความถี่ 60 Hz จงหาแรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำในโดเมนเวลา วิธีทำ แรงดันเฟสเซอร์ แรงดันแปรตามเวลา V
22
ตัวอย่างที่ 10 ตัวเก็บประจุ C = 150
กระแสเฟสเซอร์ A กำหนดให้ความถี่เป็น 60 Hz จงหาแรงดันเฟสเซอร์ที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุในโดเมนความถี่ วิธีทำ แรงดันเฟสเซอร์
23
อิมพิแดนซ์ (Impedance)
อิมพิแดนซ์ คืออัตราส่วนของแรงดันเฟสเซอร์ต่อกระแสเฟสเซอร์มีหน่วยเป็นโอห์ม Resistance Reactance พิกัดฉาก พิกัดเชิงขั้ว
24
ความสัมพันธ์ของแรงดันเฟสเซอร์กระแสเฟสเซอร์และอิมพิแดนซ์ของอุปกรณ์แบบพาสซีฟ
อุปกรณ์พาสซีฟ สมการความสัมพันธ์ อิมพิแดนซ์ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ Resistance ของตัวต้านทาน Reactance ของตัวเหนี่ยวนำ หน่วย Reactance ของตัวเก็บประจุ
25
แอดมิดแดนซ์ (Admittance)
แอดมิดแดนซ์ คือส่วนกลับของอิมพิแดนซ์หน่วยเป็นโมห์หรือซีเมนส์ (Siemens:S) susceptance หน่วย S (conductance)หน่วย S อุปกรณ์พาสซีฟ สมการความสัมพันธ์ แอดมิดแดนซ์ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ
26
ตัวอย่างที่ 11 จงหาค่าอิมพิแดนซ์และค่าแอดมิดแตนซ์ของตัวเหนี่ยวนำ L = 10 mH
เมื่อความถี่เป็น krad/s วิธีทำ อิมพิแดนซ์ แอดมิดแตนซ์ =
27
ตัวอย่างที่ 12 จงหาค่าอิมพิแดนซ์และค่าแอดมิดแตนซ์
ของตัวเก็บประจุสมมูลด้านซ้ายมือของขั้ว a–b เมื่อความถี่เป็น krad/s วิธีทำ กำหนดให้หน่วยเป็น mF ค่าตัวเก็บประจุต่ออนุกรม ค่าตัวเก็บประจุต่อขนานกัน ค่าตัวเก็บประจุต่ออนุกรม ค่าตัวเก็บประจุสมมูล mF
28
ค่าอิมพิแดนซ์ ค่าแอดมิดแตนซ์ S
29
การวิเคราะห์สัญญาณไซน์ที่สภาวะคงตัว
บทสรุปสัปดาห์ที่ 1 การวิเคราะห์สัญญาณไซน์ที่สภาวะคงตัว สัญญาณไซน์เป็นคลื่นรูปไซน์และคลื่นรูปโคไซน์ ใช้เฟสเซอร์ในการวิเคราะห์วงจร แปลงวงจรจากโดเมนเวลาให้เป็นโดเมนความถี่ อุปกรณ์แบบพาสซีฟเปลี่ยนเป็นอิมพิแดนซ์และแอดมิดแตนซ์ สมการเป็นพีชคณิต วิเคราะห์วงจรโดยใช้กฎของโอห์ม กฎของเคอร์ซอฟฟ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.