ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เลื่อยมือ hack saw
2
หน้าที่ เลื่อย เป็นเครื่องมือคมตัดแบบตัดถากชนิดหนึ่ง บริเวณฟันหรือใบเลื่อยทำด้วยเหล็กสำหรับทำเครื่องมือหรือเหล็กสำหรับงานตัดด้วยความเร็วสูง ซึ่งเป็นฟันเล็กๆเรียงกันอยู่เป็นแถวคล้ายคมของสกัด มีทั้งในงานไม้และงานโลหะ
4
ส่วนประกอบหลัก 1.โครงเลื่อย 2.ใบเลื่อย 3.นัตหางปลา 1 3 2
5
หน้าทีส่วนประกอบเลื่อยมือ
1. โครงเลื่อย ( Frame ) ทำหน้าที่ในการจับขึงใบเลื่อยให้ตึงและพาใบเลื่อยเคลื่อนที่ไป และกลับเพื่อทำการตัดเฉือนวัสดุ 2. ใบเลื่อย ( Blade ) ทำหน้าที่ในการจัดเฉือนวัสดุที่ต้องการตัด 3.นัตหางปลา (Nut) ทำหน้าที่ในการล็อคใบเลื่อย และปรับความตึงของใบเลื่อย
6
ลักษณะของคลองเลื่อย แบบฟันสลับ ใช้กับเลื่อยกล (เครื่อง)
แบบฟันคลื่น ใช้กับเลื่อยมือ แบบตอกหรือเจียระไน ใช้กับเลื่อยวงเดือน
7
คุณสมบัติของใบเลื่อย
ใบเลื่อยที่ใช้เลื่อยวัสดุแข็งและวัสดุอ่อน จะมีความห่างระหว่างฟันต่างกันซึ่งแบ่งออกเป็นฟันห่างฟันถี่ปานกลาง และฟันถี่มาก ค่าความถี่ ของฟันเลื่อยจะบอกได้โดยเทียบจำนวนฟันต่อความยาวของใบเลื่อย 1 นิ้วหรือ 25 มิลลิเมตร ขนาดของใบเลื่อย จะบอกเป็นจำนวนฟัน/นิ้วและความหนา ความกว้าง ความยาวรูปร่างของใบเลื่อยโดยทั่ว ๆ ไปจะบอกความยาวระหว่างรูร้อยใบเลื่อย เช่น 300 มม. และทางด้านใกล้รูร้อยด้านหนึ่ง จะบอกจำนวนฟัน/นิ้ว ที่ใช้งานกันอยู่ทั่ว ๆ ไป คือ 18 ฟัน/นิ้ว
8
ร่องเก็บเศษ ระยะพิตห่าง ร่องเก็บเศษโต ใชักับโลหะอ่อน
ระยะพิตแคบ ร่องเก็บเศษเล็ก ใช้กับโลหะแข็ง
9
ลักษณะของร่องเก็บเศษ
ร่องเก็บเศษเล็ก ฟันมีความแข็งแรงมาก ร่องเก็บเศษโตฟันมีความแข็งแรงน้อย เนื่องจากมีมุมลิ่มเล็ก ร่องเก็บเศษโตฟันมีความแข็งแรงมาก เพราะขนาดของมุมลิ่มโต
10
การเลือกใบเลื่อยให้เหมาะกับงาน
11
ขั้นตอนการเลื่อยชิ้นงาน
1. ยึดใบเลื่อยเข้ากับโครงเลื่อยโดยให้ ฟันเลื่อยชี้ไปทิศทางของการเลื่อยเสมอ 2.จับชิ้นงานให้แน่นบนปากกา ให้แนวตัดอยู่ใกล้ตัวของปากกา มากที่สุด บากแนวเลื่อยด้วยตะไบสามเหลี่ยม 3.เริ่มเลื่อยเอียงใบเลื่อยทำมุมกับผิวงาน ประมาณ 10 องศา
12
ข้อควรระวังในการใช้เลื่อยมือ
4.ใช้ความเร็วในการเลื่อยประมาณ 40 – 50 จังหวะชักต่อนาที ข้อควรระวังในการใช้เลื่อยมือ 1.การเลื่อย ถ้าเป็นเลื่อยมือ ต้องออกแรงตัดให้สม่ำเสมอ 2. ต้องเลือกระยะฟันของใบเลื่อย ให้เหมาะสมกับชนิด,ขนาด และวัสดุงาน 3. ใส่ใบเลื่อยให้ฟันชี้ไปทางจังหวะตัดเนื้องาน 4. การจับชิ้นงาน ให้รอยตัดอยู่ใกล้ที่จับยึดมากที่สุด เพื่อป้องกันการสั่นขอชิ้นงานขณะทำการเลื่อย 5. การจับยึดชิ้นงานต้องมีเทคนิคที่เหมาะสมในงานบางลักษณะ 6. ใช้ใบเลื่อยให้เต็มตลอดใบหรือให้ใช้จำนวนฟันให้มากที่สุด
13
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
นำเสนอโดย นายพงษ์ศักดิ์ คำเปลว ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี ข้อมูลอ้างอิง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.