งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
(Vector Control)

2 วัตถุประสงค์ กิจกรรม 2. ลดอายุขัย 3. ลดการสัมผัสระหว่างคนและยุงพาหะ
1.ลดความหนาแน่น 2. ลดอายุขัย 3. ลดการสัมผัสระหว่างคนและยุงพาหะ กิจกรรม ทางชีววิธี การใช้สารเคมี ทางสิ่งแวดล้อม ป้องกันตนเอง

3 วิธีการทางเคมี 1. การพ่นบ้าน/กระท่อม 2. การชุบมุ้ง 3. การพ่นหมอกควัน/ULV

4 1. พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน
วิธีควบคุมยุงก้นปล่องพาหะโรคมาลาเรีย 1. พ่นสารกำจัดแมลง Deltamethrin ให้มีฤทธิ์ตกค้างอยู่ตามบ้านเรือน 2. ชุบมุ้งด้วยสารกำจัดแมลง Permethrin

5 การพ่นบ้าน/กระท่อม ๏ Residual spray ๏ ท้องที่แพร่เชื้อ A1, A2
๏ ใช้เครื่องพ่นอัดลม

6 สารเคมีที่ใช้พ่นบ้าน/กระท่อม
๐ เดลต้าเมทริน 5 % WP ๐ ไบเฟนทริน 10 % WP ๐ อิโตเฟนพร็อก 20% WP ๐ อัลฟาร์ไซเพอร์เมทริน 10 % EC

7 ขนาดพื้นที่ บ้าน = 241 ตรม. กระท่อม = 60 ตรม

8 การคำนวณสารเคมี สูตรทั่วไป ขนาดที่ใช้ = จำนวนสารที่ใช้ x ความเข้มข้น
พื้นที่พ่น

9 เดลต้าเมทริน 5 % (ค่าปกติ 15 - 25 มก/ตรม) ขนาดที่ใช้ = 25 x 0.05 60
ตัวอย่าง เดลต้าเมทริน 5 % (ค่าปกติ มก/ตรม) ขนาดที่ใช้ = 25 x 0.05 60 = ก/ตรม = 20 มก/ตรม จำนวนสารที่ใช้ = x 60 0.05 = 25 กรัม

10 ประมาณการใช้สารเคมีแบบง่ายๆ
เดลต้าเมทริน 5% = จำนวนกระท่อม x 25 = ….. กก 1,000 เช่น = x = กก

11 การผสมและเทคนิคการพ่น
เดลต้ามิทริน 5% 80 กรัม เติมน้ำจนครบ 7.5 ลิตร พ่นให้ทั่วถึงตามเป้าหมาย พ่นทุกพื้นผิวที่กำหนด พ่นให้ได้ตามขนาด พ่นให้ทันก่อนฤดูการแพร่เชื้อ

12 เทคนิคการพ่น(ต่อ) ความดัน ครั้งแรกสูบลม 40-50 ครั้ง
ครั้งแรกสูบลม ครั้ง พ่น 3 นาทีแรกสูบลม 25 ครั้ง พ่นต่อไปทุกๆนาที สูบลม 25 ครั้ง ความเร็วในการพ่น 1 นาที ครอบคลุมพื้นที่ 19 ตรม ระยะห่าง หัวพ่นกับพื้นผิว 18 นิ้ว ( 45 ซม.) ความกว้างแถบน้ำยา 30 นิ้ว ( 75 ซม.) แถบน้ำยาทับกัน 2 นิ้ว ( 5 ซม.)

13

14

15

16 การชุบมุ้ง

17 ประเภทของมุ้ง มุ้งไนล่อน ดูดซับน้ำ 20 ซีซี/ตรม
มุ้งไนล่อน ดูดซับน้ำ 20 ซีซี/ตรม มุ้งฝ้ายผสมใยสังเคราะห์ ดูดซับน้ำ 50 ซีซี/ตรม มุ้งฝ้าย ดูดซับน้ำ 60 ซีซี/ตรม

18 ขนาดของมุ้ง ขนาดเล็ก 10 ตรม ขนาดกลาง 10.1-13.9 ตรม
ขนาดเล็ก ตรม ขนาดกลาง ตรม ขนาดใหญ่ 14 ตรมขึ้นไป

19 สารเคมีที่ใช้ชุบมุ้ง
๐ เพอร์เมทริน 10% EC , 55% EC ๐ ไบเฟนทริน 2 % EC ๐ เดลต้าเมทริน 25 % WT ๐ ไซฟูทริน 5% EW

20 การผสมสารเคมี > ผสมอัตราส่วน(ไนล่อน) 1:9 ( 40:360 )
> ได้สารละลายเพอร์มิทริน 1 % > ได้ขนาดติดมุ้ง 300 มก./ตรม. ( ค่าปกติ มก./ตรม.)

21 การคำนวณสารเคมี สูตรทั่วไป ขนาดที่ใช้ = จำนวนสารที่ใช้ x ความเข้มข้น พื้นที่ชุบ

22 ตัวอย่าง เพอร์เมทริน 10 % ขนาดที่ใช้ = 40 x 0.10 14 = ก/ตรม = 286 มก/ตรม จำนวนสารที่ใช้ = x 14 0.10 = 40 มล

23 ประมาณการสารเคมีแบบง่ายๆ
เพอร์เมทริน10 % = จำนวนมุ้ง x 40 มล = ….. ลิตร 1,000 เช่น = x = 4 ลิตร

24 การชุบมุ้งในถุงพลาสติก
๏ ซักมุ้งให้สะอาด ๏ พับมุ้งให้เรียบร้อย ๏ ผสมน้ำยาในถุงโดยใส่สารก่อน มุ้งไนล่อน 1: 9 มุ้งผ้า 1: 25 ๏ ใส่มุ้งลงในถุง มัดปากถุง ๏ คลุกสารให้ทั่วมุ้ง ตั้งไว้ 5 นาที ๏ นำมุ้งออกแผ่ขยายตากในร่ม ๏ เมื่อมุ้งแห้งนำไปกางนอน

25 อุปกรณ์การชุบมุ้ง  กระบอกตวง 1 ลิตร  ถุงพลาสติกสำหรับชุบมุ้ง
 กระบอกตวง 1 ลิตร  ถุงพลาสติกสำหรับชุบมุ้ง  ถุงยางมือ  สายวัด  อื่นๆ

26 ข้อดี ข้อเสีย ๏สารติดมุ้งสม่ำเสมอ ๏ ชาวบ้านอาจไม่ชอบเมื่อเคลื่อนย้ายมุ้ง ๏ สะดวก ปลอดภัย ๏ ถ้ามุ้งสกปรกประชาชนอาย ๏ ไม่ยุ่งยาก รวดเร็ว ๏ ประชาชนยอมรับ


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google