งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โดย กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 การจัดการความรู้ในองค์กร “การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซึ่งกระจัดกระจาย ในตัวบุคคล มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ ปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ” นิยาม “การจัดการความรู้” (ก.พ.ร.)

3 ต้องเข้าใจว่า ตัวองค์ความรู้เองไม่สามารถจัดการตัวเองได้โดยตรง เราไม่สามารถสั่งให้ความรู้ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ที่คนวิ่งไปจัดเก็บตัวเองได้ (ในคอมพิวเตอร์ , ในองค์กร)

4 บทบาทหลัก คือ การสามารถสร้างระบบและสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ สร้างและแบ่งปันความรู้ ให้เกิดขึ้นในองค์กร “การจัดการความรู้ สู่องค์กรยุคใหม่” บดินทร์ วิจารณ์ ,2547

5 เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้โมเดลของบริษัท ซีร็อกซ์
สภาพที่อยากเป็น 4 5 6 การเรียนรู้ แลกเปลี่ยน จัดกิจกรรม จัดการความรู้ ยกย่อง ให้รางวัล กระบวนการ & เครื่องมือ การสื่อสาร เปลี่ยนแปลง & พฤติกรรม 3 2 1 Robert J Osterhoff, 25 Aug. 2004

6 เป้าหมาย คุณภาพงานที่ดีขึ้น การจัดการความรู้

7 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
จัดการความรู้อย่างไร

8 ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้
ก่อนปี ที่คณะแพทยศาสตร์ - ต่อเนื่องถึงปัจจุบัน ทศวรรษที่ 1 พ.ศ ยุคแห่งการก่อร่างสร้างบ้าน ทศวรรษที่ 2 พ.ศ ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน ทศวรรษที่ 3 พ.ศ ยุคแห่งคุณภาพ ทศวรรษที่ 4 พ.ศ ปัจจุบัน ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้

9 โมเดลปลาทู ต้นแบบการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) โมเดลปลาทู

10 Knowledge Vision มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จะใช้การจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญในการเร่งรัดทุกภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ

11 Knowledge Sharing จัดหลากหลายเวทีให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
สร้างวัฒนธรรมแลกเปลี่ยน ยอมรับ ระหว่างกัน ใช้การเรียนลัด ประยุกต์ต่อยอดพัฒนา

12 คลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย สู่คณะ หน่วยงาน สร้าง CoPs
Knowledge Assets คลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย สู่คณะ หน่วยงาน สร้าง CoPs ฐานข้อมูลผู้มีความรู้ ความชำนาญ Website KM คณะ หน่วยงาน CoP Internal Benchmarking Site visit Best Practice

13 ร่วมทำแผน KM

14 งานของ กจ. ที่เกี่ยวกับ KM เราทำอะไร

15 จากการจัดการความรู้ จากความพยายามที่จะ
เพิ่มการไหลเวียนของความรู้ สู่ประชาคม ก้าวสู่การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

16 ฐานข้อมูลผู้มีความรู้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชานชาลาเพื่อการเรียนรู้
ความชำนาญ มีแนวทางชัดเจน ระบบจัดเก็บข้อมูล Website KM เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลาย ๆ เวที ชานชาลาเพื่อการเรียนรู้ Internal Benchmarking Site visit CoP Best Practice

17

18

19

20 แบบเจอหน้าเจอตา “face 2 face” ทาง IT “Blog 2 Blog”
เวทีแลกเปลี่ยน แบบเจอหน้าเจอตา “face 2 face” ทาง IT “Blog 2 Blog” (วงภายใน) Share.psu.ac.th (วงภายนอก) http//

21 เราพบว่าการจัดการความรู้อย่างง่าย
ดำเนินการอย่างง่ายที่สุดไม่เน้นเครื่องมือหรูหราหรือยุ่งยาก เริ่มจากกิจกรรมดี ๆ ที่มีอยู่แล้ว เช่นหา best practice ของ QA กิจกรรมสร้างสรรค์ในงานประจำที่มีอยู่แล้ว (โครงการพัฒนางาน) กิจกรรมข้อเสนอแนะต่อองค์กร

22 นำสิ่งเหล่านั้นมาจัด ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โดยจัดกระบวนการให้มีผู้กระตุ้น (คุณอำนวย) ช่วยตั้งคำถามเพื่อให้กลุ่มเหล่านั้น นำเสนอกิจกรรมของตน อย่างมีชีวิต ชีวา เกิดความภาคภูมิใจในประสบการณ์ของตน พร้อมแลกเปลี่ยน ออกจากประสบการณ์จริง (tacit knowledge)

23 Internal Benchmarking

24

25 ระบบประกันคุณภาพภายใน และภายนอก
นโยบาย เป้าหมาย แผนฯ คุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพ - ชี้กระบวนการด้วย PDCA-P มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพ - ชี้ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ผู้รับผิดชอบ ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายนอก การจัดทำ SAR การประเมินคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพภายนอก

26 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
บรรยากาศของการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน การให้คุณค่าของความแตกต่างหลากหลาย เปิดโอกาสให้ทดลองทำงานในวิธีใหม่ ๆ รับรู้การเปลี่ยนแปลงภายนอก

27 ดำเนินการโดยแทรกในงานปกติ ใช้การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน ให้ดีขึ้น
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ดำเนินการโดยแทรกในงานปกติ ใช้การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน ให้ดีขึ้น อย่าทำให้รู้สึกว่าเป็นงานที่เพิ่มขึ้น จัดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าไปแลกเปลี่ยนแบ่งปันได้อย่างเป็นธรรมชาติ

28 • KM ที่ผิด คือ KM ที่ทำแล้วเพิ่มงาน    พนักงานรู้สึกว่าเป็นภาระเพิ่มขึ้น KM ที่ผู้ทำรู้สึกว่าตนกำลังทำผลงานให้นาย หรือให้หน่วย KM • KM ที่ถูก คือ KM ที่ทำแล้ว “งานได้ผล คนเป็นสุข” และได้ผลงานเพิ่มขึ้น เกิดมิตรภาพในที่ทำงานเพิ่มขึ้น จาก blog ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช (18 พค.2549)

29 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Learning Organization

30 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google