ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChomechai Ratanarak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
นายปรีชา ลากวงษ์ งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
2
ระดับประเทศ (1 ม.ค ต.ค. 2555) พบผู้ป่วย 82 ราย จาก 8 จังหวัด เสียชีวิต 5 ราย อัตราป่วย 0.13 ต่อ ปชก.แสนคน อัตราตาย 0.01 ต่อ ปชก.แสนคน พบในกลุ่มอายุ ปี มากที่สุด (25.61%) รองลงมา ปี (14.63%) และ 7-9 ปี (12.20%) อัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับแรก คือ เลย เพชรบูรณ์ ปัตตานี ยะลา และ หนองบัวลำภู ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
3
ระดับภาค (1 ม.ค. -26 ต.ค. 2555) ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
4
สถานการณ์การระบาดรายจังหวัด ปี 2555
พบผู้ป่วยรายแรก 24 มิถุนายน (มิถุนายน- 30 ตุลาคม 2555) เลย ผู้ป่วย 52 ราย (passive case 39, active case 13) พาหะ 34 ราย พบผู้ป่วยรายสุดท้ายล่าสุด 8 ต.ค. (passive) หนองบัวลำภู ผู้ป่วย (confirmed) 4 ราย ผู้ป่วย (รอผล) 3 ราย พาหะ 3 ราย พบผู้ป่วยรายล่าสุด 5 ต.ค. พาหะ 9 ต.ค. เพชรบูรณ์ ผู้ป่วย 10 ราย (passive 4 active 6) สุราษฎร์ธานี ผู้ป่วย 2 ราย ตาย 1 ราย อุดรธานี ผู้ป่วย 3 ราย กลุ่มอายุ พบเปลี่ยนจาก วัยทำงาน เป็น ผู้ใหญ่ เด็ก (พบได้ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
5
แนวทางการดำเนินงานควบคุมโรคคอตีบในจังหวัดยโสธร
6
พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่ระบาด คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยยืนยัน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สุราษฎร์ธานี ยะลา ปัตตานี และอุดรธานี พื้นที่สงสัย คือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยสงสัย หรือผู้ป่วยน่าจะเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย สกลนคร ชัยภูมิ ลพบุรี และพิษณุโลก พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่ที่ติดกับพื้นที่เกิดโรค 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดน่าน พะเยา อุตรดิตถ์ หนองคาย พิจิตร นครสวรรค์ ขอนแก่น นครราชสีมา นราธิวาส และสงขลา พื้นที่อื่น ๆ คือ พื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง เร่งรัดปรับปรุงความครอบคลุม (ยโสธร) ที่มา : สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพสัปดาห์ที่ 44 (1 ม.ค พ.ย. 2555) สคร.7 อุบลราชธานี
7
มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ)
มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) ทำหนังสือสั่งการแจ้งเตือนเตรียมความพร้อม (ตุลาคม) ประชุมเตรียมความพร้อมทีม SRRT จังหวัดยโสธร อยู่เวรเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาวันหยุดราชการและ วันหยุดนักขัตฤกษ์ สำรวจ/ตรวจสอบ ความครอบคลุมวัคซีนและเตรียม กลุ่มเป้าหมาย (Mop up & catch up) ติดตามสถานการณ์การระบาดในจังหวัดที่ยังพบผู้ป่วย แจ้งแนวทางการเฝ้าระวังทางเวปไซต์ (
8
มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ)
มาตรการที่ดำเนินการไปแล้ว (ระยะเตรียมการ) แจ้งข่าวสถานการณ์/ข้อสั่งการทางข้อความสั้น (SMS) ประสานเตรียมการเปิดห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อ (รพท.ยส.) เตรียมวัสดุอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง วัคซีน ยารักษา หากพบผู้ป่วยสามารถใช้ได้ทันที
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.