ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ไข้เลือดออก
2
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ
ตั้งแต่ปี 2541 – (ข้อมูล 11 พฤศจิกายน 2555) อัตราป่วย/แสนปชก. ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรคเร่งด่วนประจำวัน สสจ.อำนาจเจริญ ณ 11 พ.ย. 55
3
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำแนกรายเดือน ปี 2555 เปรียบกับปี 2554
และค่ามัธยฐาน 5 ปี (พ.ศ ) ที่มา: รายงานการเฝ้าระวังโรคเร่งด่วนประจำวัน สสจ.อำนาจเจริญ ณ 11 พ.ย.55
4
อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ จำแนกรายอำเภอ ปี 2555
5
อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ จำแนกรายอำเภอเปรียบเทียบ ปี 2554 ,2555
6
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดอำนาจเจริญ จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 เปรียบเทียบปี 2554
7
แนวทางเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก แยกตามการระบาด
แนวทางเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก แยกตามการระบาด
8
1.หมู่บ้าน/ชุมชนที่มีการระบาด generation ที่ 2
- ทบทวนการจัดทำประชาคมหมู่บ้านข้อตกลงร่วมกันในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก - ทำ Big Cleaning Day ทุกสัปดาห์ และรายงานผล Big Cleaning Day เป็นรูปภาพทุกสัปดาห์ระบุวันที่ด้วย - พ่นเคมี ทำลายยุงตัวเต็มวัย ต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ อย่างน้อย 4 สัปดาห์ - แต่งตั้งทีมประเมิน การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ระดับอำเภอ ตำบล - ส่งผลการสำรวจดัชนีความชุกลูกน้ำ ทุกสัปดาห์
9
2.หมู่บ้าน/ชุมชนที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
- จัดทำประชาคมหมู่บ้านข้อตกลงร่วมกันในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก - ทำ Big Cleaning Day ทุกสัปดาห์ รายงานผล Big Cleaning Day เป็นรูปภาพทุกเดือนระบุวันที่ด้วย - พ่นเคมี ทำลายยุงตัวเต็มวัย ในพื้นที่เกิดโรค พ่นสารเคมี 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน หรือพ่น 3 ครั้ง โดยครั้งที่ 1และ2 ติดต่อกัน และ ครั้งที่ 3 ห่างอีก 7 วัน (รัศมี อย่างน้อย 100 เมตร) - แต่งตั้งทีมประเมิน การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ระดับอำเภอ ตำบล - ส่งผลการสำรวจดัชนีความชุกลูกน้ำ ทุกสัปดาห์
10
3.หมู่บ้าน/ชุมชนที่ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
- จัดทำประชาคมหมู่บ้านข้อตกลงร่วมกันในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก - ทำ Big Cleaning Day ทุกสัปดาห์ - แต่งตั้งทีมประเมินการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายระดับอำเภอ - ส่งผลการสำรวจดัชนีความชุกลูกน้ำ ทุกเดือน
11
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เข้มข้น ต่อเนื่อง ไข้เลือดออก กลัวคน ทำจริง
12
โรคคอตีบ
13
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคคอตีบ จังหวัดอำนาจเจริญ
แจ้งเตือนการระบาดของโรคคอตีบ/การเฝ้าระวังในสถานบริการ (17 กันยายน 2555) แจ้งเร่งรัดในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคคอตีบในพื้นที่ (26 ตุลาคม 2555) แจ้งในที่ประชุม กวป. ( 2 พฤศจิกายน 2555) เร่งรัดดำเนินการเก็บตกวัคซีน dT (Catch UP Vaccination) ในเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี (9 พฤศจิกายน2555)
14
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.