งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
1. ทรานซิสเตอร์ (Transistor) 2. มิเตอร์บริดจ์ (Meterbridge) 3. โพเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometer) 4. โฟโตเมตรี (Photometry ) (วิศวะไม่เรียน) 5. สเปกโตรมิเตอร์ (Spectrometer) 6. ดรรชนีของน้ำโดยใช้เลนส์นูน(วิศวะไม่เรียน) 7. แทนเจนกัลวานอมิเตอร์ ( Tangent Galvanometer) 8. การต่อตัวต้านทาน (Resistor) 9. แมกนิโตเมตรี (Magnetometry) 10. วงจร RC

2 1. Characteristic of Transistor
วัตถุประสงค์ ศึกษาคุณสมบัติของทรานซิสเตอร์ วงจร E C B RB RC V PNP E C B RB RC V PNP IC Ib

3 วัดค่า Ib(uA) IC(mA) และ EC (V) ตามขั้นตอนที่กล่าวไว้ในคู่มือ

4 IC(mA) EC= คงที่.... (V) Slope = m = ? Ib (uA)

5 2. มิเตอร์บริดจ์ (Meterbridge)
วัตถุประสงค์ เพื่อประยุกต์วงจรบริดจ์หาค่าตัวต้านทานที่ไม่ทราบค่า R3 Rx R3 R1 R2

6 Rx Galvanometer R3 PS L2 L1

7 คำนวณตามสมการ % error = ? ตั้งค่า R3 ให้เหมาะสม 3 ค่า ต่อ 1 R x
วัด ความยาว L1และ L2 ที่วงจรสมดุล เข็มกัลวานอมิเตอร์ชี้ที่ ศูนย์ คำนวณตามสมการ % error = ?

8 3. โพเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometer)
วัตถุประสงค์ ประยุกต์วงจร potentiometer เพื่อวัดค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf) หรือแรงดันไฟฟ้า หรือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ไม่ทราบค่า PS Es Ex L1,2 Rh G 1 2

9 Rh PS ES EX

10 สับสวิทช์ไปที่ Ex แล้วปรับระยะให้ Gal. อ่าน ศูนย์ ระยะนี้เป็น L2
ต่อวงจรให้ถูกต้อง ตั้งระยะ(L1)ให้ เป็น ระยะกลางๆ เช่น 300 cm แล้วสับสวิทช์ K ไปที่ ES แล้วปรับ Rheostat ให้ Gal อ่าน ศูนย์ (วงจรสมดุล) สับสวิทช์ไปที่ Ex แล้วปรับระยะให้ Gal. อ่าน ศูนย์ ระยะนี้เป็น L2 คำนวณหาค่า Ex จากสมการ %Error เท่าใด

11 4. โฟโตเมตรี (Photometry )
เพื่อวัดความเข้มของแสง และกำลังส่องสว่าง โดยใช้ Photometer I = F/A I = P / d2

12 P1 = A, B, C P2 d1 d2 %Error เท่าใด

13 5. สเปกโตรมิเตอร์ (Spectrometer)
เพื่อหามุมยอดของปริซึม เพื่อหาดรรชนีหักเหของปริซึม(วัสดุที่ใช้ทำปริซึม) -1 +2

14 T1 Dm collimator telescope T2

15 6. ดรรชนีของน้ำโดยใช้เลนส์นูน
เพื่อหาดรรชนีหักเหของน้ำโดยใช้เลนส์นูน วัตถุ ภาพหัวกลับ ขนาดเท่ากับวัตถุ 1 f1 =ความยาวโฟกัส ของ เลนส์นูน

16 F= โฟกัสรวมของเลนส์+น้ำ
2 วัตถุ ภาพหัวกลับ ขนาดเท่ากับวัตถุ F= โฟกัสรวมของเลนส์+น้ำ

17 CO= ระยะวัตถุ 3 ภาพจากการสะท้อนที่ปรอท วัตถุ
ภาพหัวกลับ ขนาดเท่ากับวัตถุ i=r1 O CO= ระยะวัตถุ ปรอท C จานรอง วงแหวนกระบอก

18

19 7. แทนเจนกัลวานอมิเตอร์ ( Tangent Galvanometer)
B =สนามแม่เหล็กจากขดลวด=0nI/ 2r สนามลัพธ์ tan =B/H =0 nI/ 2rH I= 2rHtan/ 0 n (A) SI-unit 0=4  x 10-7 Wb/A-m H = สนามแม่เหล็กโลก

20 N จัดให้ระนาบขดลวดอยู่ในแนวเหนือ - ใต้ H เข็มทิศ S B I I Rh

21 8. การต่อตัวต้านทาน (Resistor)
ศึกษาการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม ขนาน ผสม R1 R3 R2 V2 V3 V1 V

22 R1 R3 R2 A1 A2 A3 V

23 I1 A1 V1 I A2 V2 I3 A3 V3 I I V=V1 =V2 =V3

24 แบบผสม V2 V1 V3 คำนวณ ตามที่คู่มือกำหนดไว้

25 แมกนิโตเมตรี (Magnetometry)
เพื่อหาขนาดสนามแม่เหล็กโลก และหาโมเมนต์แม่เหล็กของแท่งแม่เหล็ก ตอนที่ 1 แมกนีโตมิเตอร์ชนิดบ่ายเบน End-on position N d 1 N S S N 2 S M/H =(d2 - l2 )2 tan  d  = /8

26 ตอนที่ 2 แมกนีโตมิเตอร์ชนิดบ่ายเบน broad side pososition
2 N 1 S S N d = /8 M/H =(d2+l2)3/2tan 

27 ตอนที่ 3 แมกนีโตมิเตอร์ชนิดแกว่ง
จับเวลาในการแกว่งครบ 10 รอบ

28

29 10. วงจร RC เพื่อหาค่า time constant ของวงจร
C=4700 uF 0 V<10 V R=2200  V จับเวลาในการชาร์จจาก 0 V ถึง ~10 V

30 จับเวลาในการดีสชาร์จจาก 10 V ถึง 0 V
I จับเวลาในการดีสชาร์จจาก 10 V ถึง 0 V

31 ln(V0 –V) Slope = -m1 ชาร์จ t(s) ln(V) ดีสชาร์จ Slope = -m2 t(s)

32 % Error = ? ความชันเฉลี่ย = -? ค่าจริง T = RC END
ค่าคงที่เวลาเฉลี่ย = - 1/ ความชันเฉลี่ย ค่าจริง T = RC % Error = ? END


ดาวน์โหลด ppt PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google