งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 Method (2).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 Method (2)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 Method (2)

2 WEEK6 w6_000.rar การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด ข้อ 26 static method ข้อ 28 as6_000.rar การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด ข้อ 25,27

3 ArrayList เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้อาร์เรย์จัดเก็บข้อมูลแบบรายการลำดับที่ต่อเนื่องกัน อ้างถึงข้อมูลในลำดับใดๆ ด้วยการระบุตำแหน่ง (index) ของข้อมูลที่ต้องการ รองรับการเก็บข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ ซึ่งเป็นอาร์เรย์ของ Reference สามารถขยายขนาดได้เองโดยอัตโนมัติ ในขณะที่อาร์เรย์ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดของอาร์เรย์หลังจากที่ถูกสร้างขึ้นได้

4 เมธอดในคลาส ArrayList
เมธอด size() เป็นเมธอดหาจำนวนสมาชิกทั้งหมดของ ArrayList มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ n = arrayListName.size(); โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการหาจำนวนสมาชิก n เป็นจำนวนสมาชิกใน ArrayList ที่ได้จากคืนค่าของเมธอด

5 เมธอด add() เป็นเมธอดสำหรับเพิ่มสมาชิกใน ArrayList มีรูปแบบการใช้งานดังนี้  arrayListName.add(objectValue);   โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการเพิ่มสมาชิก objectValue เป็นข้อมูลที่ต้องการเพิ่มใน ArrayList ผลที่ได้จากใช้เมธอด add จะเป็นการเพิ่มสมาชิกในตำแหน่งสุดท้ายของ ArrayList หากต้องการเพิ่มสมาชิกที่ตำแหน่งใดๆ ใน ArrayList ให้ระบุตำแหน่งที่ต้องการเพิ่มสมาชิกไปด้วย   arrayListName.add(index, objectValue);   โดยที่ index เป็นตำแหน่งที่ต้องการเพิ่มสมาชิก

6 เมธอด get() เป็นเมธอดสำหรับหาค่าสมาชิกใน ArrayList ณ ตำแหน่งที่ต้องการ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้  objectValue = arrayListName.get(index);   โดยที่ arrayListName เป็นชื่อของออบเจ็กต์ ArrayList ที่ต้องการหาค่าสมาชิก objectValue เป็นออบเจ็กต์ที่ใช้รับข้อมูลจากเมธอด index เป็นตำแหน่งที่ต้องการหาค่าสมาชิก สามารถนำข้อมูลประเภทออบเจ็กต์นี้ ไป แปลงเป็นชนิดข้อมูลที่ต้องการได้ โดยใช้ เมธอดในคลาส Wrapper ได้แก่ เมธอด toString(), เมธอดประเภท parseType()  

7 ความแตกต่างของ Array และ ArrayList

8 การส่งออบเจ็กต์ไปยังเมธอด
การส่งชนิดข้อมูลพื้นฐานจะเป็นการส่งค่าข้อมูลแบบค่า (pass by value) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ หากมีการเปลี่ยนแปลงค่าของพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เราเรียกใช้ จะไม่ทำให้ค่าของอาร์กิวเมนต์เปลี่ยนตาม การส่งชนิดข้อมูลแบบอ้างอิงซึ่งใช้กับข้อมูลประเภทออบเจ็กต์ จะเป็นการส่งค่าตำแหน่งอ้างอิง (pass by reference) ไปให้กับเมธอดที่เรียกใช้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงค่าพารามิเตอร์ภายในเมธอดที่เรียกใช้ จะมีผลทำให้ค่าของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปเปลี่ยนตาม คุณลักษณะเช่นนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกรณีที่ต้องการเปลี่ยนแปลงค่าของอาร์กิวเมนต์ที่ส่งไปภายใต้การทำงานของเมธอด 1 เมธอด เช่น การคำนวณการแลกเหรียญที่ต้องการผลเป็นจำนวนเหรียญ 10 บาท, เหรียญ 5 บาท, เหรียญ 2 บาท และเหรียญ 1 บาท ซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการมีทั้งหมด 4 ค่า

9 โปรแกรมคำนวณแลกเหรียญ ใช้การส่งข้อมูลแบบค่า

10 โปรแกรมคำนวณแลกเหรียญ ใช้การส่งออบเจ็กต์

11 โปรแกรมข้อ 26 คลาส countScore ประกอบด้วยข้อมูลนักศึกษาที่มีช่วงคะแนนสอบต่าง ๆ 5 ค่า คือ ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 70 คะแนนแต่น้อยกว่า 80 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 60 คะแนนแต่น้อยกว่า 70 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบตั้งแต่ 50 คะแนนแต่น้อยกว่า 60 คะแนน, ข้อมูลคะแนนสอบน้อยกว่า 50 คะแนน และเมธอด void processScoreData(ArrayList studentScoreData, scoreOutput output) ทำหน้าที่คำนวณจำนวนและเปอร์เซ็นต์นักศึกษาที่สอบได้ในแต่ละช่วงคะแนน จงเขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง result และเขียนโปรแกรมรับข้อมูลคะแนนสอบของนักศึกษาจำนวนหนึ่ง เรียกใช้เมธอด และแสดงผล ซึ่งประกอบด้วย จำนวนนักศึกษาทั้งหมด, คะแนนสอบของนักศึกษาแต่ละคน จำนวนนักศึกษาที่สอบได้ในแต่ละช่วงคะแนน ทางจอภาพ

12 ประเภทของเมธอด (1) Instance Method
เป็นเมธอดที่เรียกผ่านออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสด้วยตัวดำเนินการ new

13 ประเภทของเมธอด (2) Static Method

14 ประเภทของเมธอด (3) โปรแกรมคำนวณเงินภาษีด้วย static method


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 Method (2).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google