งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy

2 Basic Technique in Radiation Therapy
รังสีรักษา ( Radiotherepy ) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. รังสีรักษาจากระยะไกล ( Teketherapy ) : การฉายรังสีโดยใช้เครื่องฉายรังสีต่าง ๆ เช่น Co-60, Linac 2. รังสีรักษาจากระยะใกล้ ( Brachytherapy ) : การใส่แร่ ( การฝังแร่ ) ใช้สารกัมมันตรังสีชนิดต่าง ๆ เช่น Cs-137, Ir-192

3 เทคนิคการจัดท่าประกอบการฉายรังสีมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ
Basic Technique in Radiation Therapy เทคนิคการจัดท่าประกอบการฉายรังสีมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ ให้ก้อนมะเร็งได้รับปริมาณรังสีสูงสุดในขณะที่เนื้อเยื่อปกติได้รับรังสีน้อยสุด 2. ปริมาณรังสีที่กระจายในปริมาตรการรักษาที่สม่ำเสมอ

4 Basic Technique in Radiation Therapy
เครื่องฉายรังสี ( External Beam Equipment ) 1. เครื่องฉายรังสี Co-60 มีคร่าชีวิต ( Half Life ) = 5.26 ปี สลายตัวให้รังสีแกมมา พลังงานเฉลี่ย 1.25 Mevปริมาณรังสีสูงสุดอยู่ที่ความลึก 0.5 cm จากผิว ระยะ SSD = 80 cm ใช้รักษาโรคมะเร็งบริเวณศีรษะ ลำคอ ทรวงอกเต้านม และกระดูกต่าง ๆ 2. เครื่องเร่งอนุภาค ( Linear Accekerator, Linac )ใช้กระแสไฟฟ้าในการผลิตรังสีเอกซ์พลังงานสูงสุด( 4-20 MV)โดยปริมาณรังสีสูงสุดอยู่ที่ความลึกต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับพลังงานของเครื่อง Linac แต่ละรุ่น และเครื่อง Linac ยังสามารถที่จะผลิตลำรังสีอิเล็กตรอนเพื่อใช้ในการรักษาได้อีกด้วยระยะ SSD = 100 cm

5 Basic Technique in Radiation Therapy
Basic of External Beam Technigue เทคนิคการ Set ฉายรังสี แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. Source : Skin Distance Technique ( SSD ) เป็นการฉายรังสีที่จัดให้จุดหมุน ( Axis of Rotation ) ของเครื่องฉายรังสีอยู่ที่ผิวผู้ป่วย Source SSD Skin Tumour

6 Basic Technique in Radiation Therapy
2. Source Axis Distance Technique ( SAD ) เป็นการฉายรังสีที่จัดให้จุดหมุน ( Axis of Rotation ) ของเครื่องฉายรังสี อยู่ที่ตำแหน่งเป้า ( Target Volume ) ในตัวผู้ป่วย Source SAD Tumour

7 Basic Technique in Radiation Therapy
ชนิดของ Field การฉายรังสี 1. Single Field เป็นการฉายรังสีที่มีทิศทางเข้าทางเดียว ใช้รักษาก้อนมะเร็งที่ผิว หรือที่มีระดับความลึกตื้น ๆ ใต้ผิวเช่น มะเร็งผิวหนัง Supraclavicular node

8 Basic Technique in Radiation Therapy
2. Parallel Opposed Field เป็นการฉายรังสีที่มีทิศทางการเข้าของรังสี 2 ทิศทาง ตรงกันข้ามนิยมใช้ทั่วไปกับก้อน Tumoru ที่อยู่บริเวณตรงกลางของส่วนร่างกายที่จะรักษา เช่น Head and Neck, Pelvic Region AP RT-lat LT-lat PA

9 Basic Technique in Radiation Therapy
3. Multiple Field เป็นการฉายรังสีที่มีทิศทางการเข้าของรังสีหลายทิศทาง AP AP RT-Lat LT-lat RT-lat LT-lat PA 3 ทิศทาง ทิศทาง

10 Basic Technique in Radiation Therapy
การวางแผนการรักษา ( Treatment Simulator ) Simulation = การทำให้เหมือน จำลองให้เหมือนจุดมุ่งหมายของ Simulator 1. เพื่อตำแหน่งของรอยโรค ( Localization ) 2. กำหนดขอบเขตของการรักษา ( Field Size ) 3. หาทิศทางของลำรังสี ( Beam Port ) เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันอวัยวะสำคัญ (Critical Organ ) 4. ทำการวางแผนการฉายรังสี ( Treatment Planning )

11 Basic Technique in Radiation Therapy
การจัดท่าผู้ป่วย ( Position ) ผู้ป่วยควรอยู่ในท่าที่สบาย และถูกต้องตามเทคนิคการรักษา โดยผู้ป่วยสามารถอยู่ในท่านั้นนิ่ง ๆ ตลอดการรักษาแต่ละครั้ง และทุกทุกครั้ง ต้องอยู่ท่านั้นได้เหมือน ๆ กัน

12 Basic Technique in Radiation Therapy
ขั้นตอนการทำ Simulation 1. อธิบายขั้นตอนการทำ บอกจุดประสงค์ และความสำคัญในการทำกับผู้ป่วย เพื่อผู้ป่วยจะได้เข้าใจ และให้ความร่วมมือ 2. เลือกอุปกรณ์ที่ใช้ในการ Position เช่น หมอนลักษณะต่าง ๆ, Breast Board 3. จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สะดวกสบายที่สุดเพื่อผู้ป่วยสามารถนอนนิ่ง ๆ ได้นานในช่วงที่ Localize ในห้องSimulator และสามารถนอนท่านี้ได้เหมือนกันทุกครั้งที่มารับการฉายรังสี 4. ใช้ Laser ช่วยในการจัดท่า และ Mask ตำแหน่ง Laser นั้นไว้เพื่อใช้ในการจัดท่าผู้ป่วยที่ห้องฉายรังสี 5. ทำการยึดผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ต้องการด้วยอุปกรณ์ยึดตรึงผู้ป่วยเช่น หน้ากาก กระดาษกาว หรือ Breast Boardเพื่อให้ผู้ป่วยอยู่นิ่งในท่าเดิมจนกว่าจะ Localize เสร็จ

13 Basic Technique in Radiation Therapy
ขั้นตอนการทำ Simulation 6. หาตำแหน่งรอยโรคด้วย Fluoroscopy เปิด Field Size ให้ครอบคลุมบริเวณที่รักษา และ Set ระยะ SSDหรือ SAD 7. พิจารณาอวัยวะที่อยู่ใกล้เคียงหรืออยู่รอบ ๆ รอยโรคว่าต้องการให้ได้รับรังสีด้วยหรือไม่ ถ้าไม่ต้องการก็ทำการBlock โดยใช้เส้นตะกั่ววางเป็น Block ตามต้องการ 8. ขีดเส้น Field Size และ Block Center ลงบนผิวผู้ป่วย 9. ถ่าย Film X-ray ตามพื้นที่ที่ต้องการ 10. วัดความหนาของผู้ป่วยบริเวณที่ต้องการฉาย เพื่อนำไปคำนวณ Treatment Time 11. บันทึกข้อมูล Field Size, ความหนา, Anatomical Landmark, Setup ห้องฉาย

14 Cop Radio Therapy Cop Radio Therapy Basic Technigue in
Radiation Therapy Source SSD Skin Tumour Cop Radio Therapy Cop Radio Therapy


ดาวน์โหลด ppt Basic Technigue in Radiation Therapy Cop Radio Therapy.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google