ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMae-ying-thahan Sangwit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
ผศ.นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
2
พัฒนาการทางสติปัญญา (cognitive development)
ความเจริญงอกงาม ด้านความสามารถ ในการคิด ของแต่ละบุคคล
3
พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิด
พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) กับสิ่งแวดล้อม เริ่มตั้งแต่แรกเกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก “ตน” (self) เพราะตอนแรกเด็กจะยังไม่สามารถแยก “ตน” ออกจากสิ่งแวดล้อมได้
4
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดชีวิต ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (equilibrium)
5
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
6
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (interaction) ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
1. กระบวนการดูดซึม (assimilation) 2. กระบวนการปรับโครงสร้าง (accommodation)
7
The learner is advanced through three mechanisms.
1. Assimilation กระบวนการดูดซึม - fitting a new experience into an exisiting mental structure(schema). เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึมซาบ หรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างของ สติปัญญา(Cognitive Structure) โดยจะเป็นการ ตีความ หรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม
8
2. Accomodation กระบวนการปรับโครงสร้าง
- revising an exisiting schema because of new experience. การเปลี่ยนแบบโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยู่แล้วให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมใหม่ ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญา
9
การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลย์ระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม
3. Equilibrium - seeking cognitive stability through assimilation and accomodation. การปรับตัวเข้าสู่สภาวะสมดุลย์ระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม
10
การดูดซึมเพื่อรับประสบการณ์ใหม่
การปรับโครงสร้างเป็นการปรับโครงสร้างความคิดเดิมให้สอดคล้องเหมาะสมกับประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับเข้ามา
11
ดังนั้น สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
การปรับแนวคิดและพฤติกรรมจะทำให้เกิดภาวะสมดุลแล้วเกิดเป็นโครงสร้างทางสติปัญญาขึ้น (cognitive structure) ดังนั้น สติปัญญาจึงเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล
12
Assimilation and Accommodation in Cognitive Development
13
Schemes of Learning
14
สรุปพัฒนาการสติปัญญา
บุคคลต้องมีการปรับตัวซึ่งประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ 2 อย่าง คือ การดูดซึมหรือซึมซาบเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) และ การปรับโครงสร้างทางสติปัญญา (Accomodation)
15
Piaget แบ่งพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้น
ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัส (Sensorimotor Stage) ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการ (Preoperation Stage) ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นที่ 4 ขั้นความคิดนามธรรม (Formal Operation Stage)
19
Comparing Erikson's and Piaget's Stages
20
ขั้นที่ 1 ขั้นประสาทสัมผัส (Sensorimotor Stage) อายุแรกเกิด – 2 ขวบ
ส่วนใหญ่ใช้การรับรู้โดยอาศัยระบบประสาทสัมผัสทั้ง 5
22
ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมการ (Preoperation Stage) อายุ 2 – 7 ขวบ
เกี่ยวกับการใช้ภาษา เด็กสามารถบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์และความรู้สึกได้ มักใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในการเล่น
23
เด็กอายุ 2 – 4 ขวบ จะถือตนเองเป็นศูนย์กลาง (egocentric thought or egocentrism)
24
การเล่นเกมปิดตาซ่อนหา เด็กจะเข้าใจว่าคนที่ซ่อนนั้นหายไป
26
เด็กจะไม่เข้าใจในหลักความคงที่ (principle of conservation)
ไม่เข้าใจในเรื่องปริมาณ จำนวนของวัตถุที่ไม่เปลี่ยนแม้รูปร่างจะเปลี่ยนจากลักษณะของบรรจุภัณฑ์
27
Children's Perception of Conservation of Liquid
28
ในขั้นเตรียมการ (Preperational Period) เด็กจะตอบว่าน้ำในกระบอกแก้ว ทรงสูงจะมีปริมาณมากกว่าน้ำในกระบอกแก้วทรงเตี้ย * ในขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operational Period) เด็กจะตอบว่าปริมาณน้ำในกระบอกแก้ว C จะเท่ากับปริมาณน้ำในกระบอกแก้ว A
29
Children's Perception of Conservation of Mass
30
เด็กจะพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความคงที่ของจำนวน (number) มวล (mass) ความยาว(length) และพื้นที่(area)
32
ขั้นที่ 3 ขั้นความคิดรูปธรรม (Concrete Operation Stage) อายุ 7 – 12 ปี
ใช้ความคิดเชิงเหตุผล เรื่องความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความคิดในมุมกลับหรือการคิดกลับไปกลับมาได้ (reversibility) รู้จักการคิดจัดประเภทและการจัดลำดับ
33
จัดกลุ่มวัตถุเข้าเป็นหมวดหมู่กันได้
เริ่มเข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ เข้าใจเรื่องปริมาณ ขนาดน้ำหนัก เรียนรู้เรื่องจำนวนและตัวเลขได้ง่ายขึ้น
38
ขั้นที่ 4 ขั้นความคิดนามธรรม (Formal Operation Stage) อายุ 12 ปี – ผู้ใหญ่
เข้าใจกฎเกณฑ์ของสังคมดีขึ้น มีความสามารถในการใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหา การพัฒนาการทางด้านความคิดเป็นไปอย่างรวดเร็ว สามารถตีความหมายและทดสอบข้อพิสูจน์ต่าง ๆ ได้
39
มีความคิดรวบยอด (abstract)
เข้าใจนามธรรม (formal) เข้าใจในหลักตรรกศาสตร์ (logical) เข้าใจการอนุมานและนำไปสู่การสรุปอย่างมีเหตุผลได้ (Hypothetical-deductive reasoning)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.