ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1.1 การลดบทบาทของทหาร
2
1.2 การพัฒนาระบบรัฐสภา สถาบันรัฐสภาเป็นเงื่อนไขที่จำเป็นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทั้งในแง่ของการจัดการโครงสร้างของรัฐสภาและของบุคลากรรัฐสภาเอง
3
1.3 การปรับปรุงระบบราชการ
ระบบราชการคือ องค์กรที่ประกอบด้วยสายการบังคับบัญชาที่จัดไว้อย่างละเอียดรัดกุม อาศัยหลักการแบ่งงานกันทำ (Division of Work)
4
ระบบราชการเป็นกลไกที่สำคัญของฝ่ายบริหารและเป็นปัจจัยที่สำคัญช่วยส่งเสริมเสถียรภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
5
1.4 การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ข้อดีของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
6
การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมในการปกครองตนเองอย่างแท้จริง จะเป็นรากฐานของการพัฒนาการเมืองอันนำไปสู่ความสำเร็จของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยได้ รัฐบาลต้องให้โอกาสประชาชนเรียนรู้คุณประโยชน์และความจำเป็นของการปกครองท้องถิ่นที่มีต่อวิถีความเป็นอยู่ของพวกเขาเอง
7
One-way Communication
2. เสถียรภาพของประชาธิปไตย 2.1 การสื่อความรู้ความเข้าใจ One-way Communication Political Socialization
8
Autonomous Political Participation
รัฐบาลต้องปลุกความสำนึกทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยให้แก่ปวงชน Autonomous Political Participation Mobilized Political Participation
9
2.2 ความรับผิดชอบและวินัยแห่งประชาธิปไตย
ประชาชนต้องมีคุณภาพ สิทธิและเสรีภาพ
10
หน้าที่ของประชาชนในสังคมประชาธิปไตย
วินัยแห่งอุดมการณ์ประชาธิปไตย
11
2.3 สภาพแวดล้อมทางสังคม สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลยิ่งต่อเสถียรภาพทางการเมือง
12
Participant Political Culture
1. อิทธิพลของระบบศักดินา Participant Political Culture 2. ค่านิยมและความเชื่อ ยึดถือบุคคลมากกว่าหลักการ
13
เชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ผีสางนางไม้
โครงสร้างของสังคม สังคมเมืองหลวง สังคมชนบท
14
Seymour Lipset : ยิ่งระดับการศึกษาของประชาชนในชาติสูงมากขึ้นเพียงใด โอกาสที่ชาตินั้นจะปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น
15
สรุป : การให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงพร้อมกับการปรับโครงสร้างทางการเมืองและการบริหารให้มีประสิทธิภาพจะเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งที่จะปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมของไทยให้เอื้อต่อการพัฒนาประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพสืบไป
16
สภาวะการทางเศรษฐกิจ รัฐบาลต้องรับผิดชอบในการสร้างเงื่อนไขทางเศรษฐกิจที่ดี เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน สภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ล้าหลังจะเป็นตัวบ่งว่าระดับความสามารถของรัฐบาลมีอยู่น้อยมาก เสถียรภาพทางการเมืองก็จะสั่นคลอน
17
กิจกรรม จงอธิบายแนวทางสู่สังคมประชาธิปไตยยุคโลกาภิวัฒน์ของไทยว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ งานกลุ่ม ส่งวันพฤหัสก่อน น. ห้อง (เขียนส่ง)
18
แนวทางสู่สังคมประชาธิปไตยยุคโลกาภิวัฒน์
องค์ประกอบสำคัญในการสร้างสังคมประชาธิปไตยแบบใหม่ 1.ต้องตอบสนองความต้องการของประชาชนและนำเสนอนโยบายที่มีผลต่อชีวิตของประชาชน
19
2.ต้องให้ความสำคัญกับความสมานฉันท์และการสร้างการมีส่วนร่วม
การบังคับใช้กฎหมายต้องเป็นธรรม เป็นกลาง และทุคนได้มีส่วนร่วม จึงจะมีความยุติธรรมและทางออกของการแก้ปัญหาทางการเมือง
20
3.ระบอบการเมืองต้องคำนึงว่าสังคมและเศรษฐกิจนั้นเป็นส่วนหนึ่งของระบบโลกที่เชื่อมโยงผูกพันกันกับการเมืองอย่างแยกไม่ออก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
21
4.ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการที่โปร่งใสและสำคัญในการพัฒนาระบบพัฒนาประชาธิปไตย
บทบาทของรัฐบาลหลังจากการเลือกตั้งให้เน้นทางด้านนโยบายและมีอำนาจขอบเขตจำกัด
22
สิทธิที่ชอบธรรมมีแต่เรื่องนโยบายเท่านั้น ไม่ได้มีสถานะเหนือกฎหมายหรือมีความชอบธรรมในการเข้าไปแทรกแซงสถาบันหลักที่ส่งเสริมประชาธิปไตย
23
5.ควรอยู่บนพื้นฐานของเศรษฐกิจที่มั่งคง
รากฐานทางเศรษฐกิจและปรัชญาทางเศรษฐกิจที่มั่งคงในความเชื่อในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด แบบเสรี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.