งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ความแปรปรวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ความแปรปรวน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ความแปรปรวน
BC428 : Research in Business Computer

2 ANOVA เป็นวิธีการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากรที่มีตั้งแต่ 3 กลุ่มขึ้นไป One Way ANOVA ANOVA Two Way ANOVA BC428 : Research in Business Computer

3 One way ANOVA เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตัวแปรหรือปัจจัยที่จะมีผลกระทบกับตัวแปรหลักเพียงแค่ 1 ตัวเท่านั้น เช่น อาชีพ  ทหาร  อาจารย์  วิศวกร ค่าใช้จ่าย …………………………. บาท/เดือน BC428 : Research in Business Computer

4 ข้อตกลงเบื้องต้นของ ANOVA
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบในแต่ละกลุ่มจะต้องมีการแจกแจงแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบจะต้องมีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้แต่ละกลุ่มจะต้องเป็นอิสระกัน BC428 : Research in Business Computer

5 ตาราง ANOVA Between Groups k-1 SSB MSB f= Within Groups n-k SSW MSW
Source of Variance (SOV) df Sum Square (SS) Mean Square (MS) F-ratio Between Groups k-1 SSB MSB f= Within Groups n-k SSW MSW Total n-1 SST BC428 : Research in Business Computer

6 สมมติฐาน ANOVA Ho : 1 = 2 = … = k
H1 : มี i อย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกัน BC428 : Research in Business Computer

7 Data9_1.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม 1. ชั้นปี  ชั้นปี 1  ชั้นปี  ชั้นปี 3  ชั้นปี 4 2. จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ ……………….. ชั่วโมง/วัน ต้องการทดสอบจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปีว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ BC428 : Research in Business Computer

8 ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ และการทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล
ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ และการทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล คำสั่ง Analyze  Descriptive Statistics  Explore… ทดสอบการแจกแจงปกติ BC428 : Research in Business Computer

9 การทดสอบการแจกแจงแบบปกติ เมื่อจำแนกตามชั้นปีที่ 1
1)Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการแจกแจงแบบปกติ H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ไม่มีการแจกแจงแบบปกติ 2)สถิติทดสอบ คือ Shapiro-Wilk = 0.924 3)ค่า Sig = 4)ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 5)ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการแจกแจงแบบปกติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

10 ผลการวิเคราะห์การแจกแจงปกติ
จากการวิเคราะห์จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เมื่อจำแนกตามชั้นปี พบว่า จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของแต่ละชั้นปี มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งค่า Sig. ที่ได้จากการทดสอบเมื่อจำแนกตามชั้นปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ ชั้นปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ ชั้นปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ ชั้นปีที่ 4 มีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

11 การทดสอบความแปรปรวน BC428 : Research in Business Computer

12 การทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล
Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี มีความแปรปรวนแตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ Levence statistic = 0.411 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig>  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

13 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน
จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนของจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี พบว่า มีความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน ค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบมีค่าเท่ากับ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

14 ทดสอบ One-Way ANOVA คำสั่ง Analyze  Compare Means  One-Way ANOVA…
BC428 : Research in Business Computer

15 BC428 : Research in Business Computer

16 ทดสอบ ANOVA Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 3.044 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Reject H0 จะต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

17 Post Hoc Tests BC428 : Research in Business Computer

18 ตรวจสอบว่าคู่ใดแตกต่างกันมาก
วิธีหาจำนวนคู่ = k(k-1)/2 เมื่อข้อมูลถูกจำแนกเป็น 4 กลุ่ม จะต้องทดสอบข้อมูล = 4(4-1) /2 = 6 คู่ BC428 : Research in Business Computer

19 ตัวอย่าง การทดสอบความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ ระหว่าง ชั้นปีที่ 1 กับปีที่ 2
Ho : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 แตกต่างกัน ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

20 ผลการวิเคราะห์ANOVA ชั้นปี N SD F Sig 1 2 3 4 11 12 6 5.18 4.33 4.83
จำนวนชั่วโมงในการ เล่นเกมส์ออนไลน์ ชั้นปี N SD F Sig 1 2 3 4 11 12 6 5.18 4.33 4.83 7.82 3.13 2.93 2.48 2.96 3.044 0.041 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ของนักศึกษา 4 ชั้นปี พบว่า มีอย่างน้อย 2 ชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่มเกมส์ออนไลน์แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ ดังนั้น จึงต้องทดสอบเพื่อหาความแตกต่างระหว่างชั้นปี โดยใช้วิธีการทดสอบ Multiple Comparison Test และเลือกใช้ค่าสถิติ LSD ในการทดสอบ ซึ่ง แสดงผลลัพธ์ในตาราง ดังนี้ BC428 : Research in Business Computer

21 *แสดงชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน
1 2 3 4 - 0.848 0.348 -0.500 -2.636* -3.485* -2.985 *แสดงชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน จากตารางพบว่า มีจำนวนชั้นปีที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน 2 คู่ ดังนี้คือ ชั้นปีที่ 1 กับ ชั้นปีที่ 4 และ ชั้นปีที่ 2 กับชั้นปีที่ 4 โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ และคู่ที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4 ซึ่งมีค่าความแตกต่างเท่ากับ ชั่วโมง BC428 : Research in Business Computer

22 Two-Way ANOVA เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตัวแปรหรือปัจจัยที่จะมีผลกระทบกับตัวแปรหลัก 2 ตัว เช่น อาชีพ  ทหาร  อาจารย์  วิศวกร อายุ  ต่ำกว่า 20 ปี  ปี  ตั้งแต่ 36 ปี ค่าใช้จ่าย …………………………. บาท/เดือน BC428 : Research in Business Computer

23 ตาราง Two-Way ANOVA Between Row r-1 SSR MSR f= Between Column c-1 SSC
Source of Variance (SOV) df Sum Square (SS) Mean Square (MS) F-ratio Between Row r-1 SSR MSR f= Between Column c-1 SSC MSC Interaction effect (r-1) (c-1) SSRC MSRC Error rc(n-1) SSE MSE Total nrc-1 SST MST BC428 : Research in Business Computer

24 สมมติฐาน Two-Way ANOVA ทดสอบ 3 เรื่อง
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นจากการมีความผันแปรร่วมระหว่างแถวกับคอลัมน์ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นในแถว เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่เกิดขึ้นในคอลัมน์ BC428 : Research in Business Computer

25 Data9_2.sav ลักษณะของคำถามในแบบสอบถาม .ชั้นปี  ชั้นปี  ชั้นปี 2  ชั้นปี  ชั้นปี 4 .คณะ  บริหารธุรกิจ  บัญชี  วิทยาศาสตร์ .จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ ……………….. ชั่วโมง/วัน จากแบบสอบถามเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนชั่วโมงในการเล่นสนทนาออนไลน์(Chat) ของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี จากนักศึกษาทั้งหมด 3 คณะ เพื่อทดสอบ Two-way ANOVA BC428 : Research in Business Computer

26 Analyze  General Linear Model  Univariate…
คำสั่ง Analyze  General Linear Model  Univariate… Univariate Analysis of Variance BC428 : Research in Business Computer

27 BC428 : Research in Business Computer

28 BC428 : Research in Business Computer

29 การทดสอบการมีความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ
Ho : ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา H1 : ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะมีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา สถิติทดสอบ คือ F = 0.647 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 BC428 : Research in Business Computer

30 การทดสอบค่าเฉลี่ยของการสนทนาออนไลน์ระหว่างนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี
Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 ชั้นปี แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 2.495 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig >  แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 4 ชั้นปี ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Accept H0 ไม่ต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

31 การทดสอบค่าเฉลี่ยของการสนทนาออนไลน์ระหว่างนักศึกษาทั้ง 3 คณะ
Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาทั้ง 3 คณะ ไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 คณะ แตกต่างกัน สถิติทดสอบ คือ F = 6.380 ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาอย่างน้อย 2 คณะ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีที่ Reject H0 จะต้องดูตาราง Post Hoc ต่อ BC428 : Research in Business Computer

32 faculty BC428 : Research in Business Computer

33 ทั้งหมดที่จะต้องทดสอบ = 3(3-1)/2 = 3 คู่
ทั้งหมดที่จะต้องทดสอบ = 3(3-1)/2 = 3 คู่ ตัวอย่าง การทดสอบความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ ระหว่างคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชี Ho : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีไม่แตกต่างกัน H1 : จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีแตกต่างกัน ค่า Sig = ระดับนัยสำคัญ() = 0.05 ค่า Sig <  แสดงว่าปฏิเสธสมมติฐานหลัก นั่นคือ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์เฉลี่ยของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและคณะบัญชีแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ฯลฯ BC428 : Research in Business Computer

34 ผลการวิเคราะห์ จำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์(ชั่วโมง/วัน) บริหารธุรกิจ
บัญชี วิทยาศาสตร์ รวม SD ชั้นปี 1 8.50 2.121 5.14 2.911 2.00 0.000 5.18 3.125 ชั้นปี 2 6.20 3.421 3.00 1.414 2.000 4.33 2.934 ชั้นปี 3 6.00 2.646 2.50 0.707 4.83 2.483 ชั้นปี 4 10.25 1.708 6.50 2.881 7.82 2.960 7.64 3.054 4.42 2.539 4.57 2.875 ชั้นปี F= 2.495;Sig of F= 0.080 คณะ F= 6.380;Sig of F=0.005 ชั้นปี*คณะ F=0.647 ;Sig of F= 0.692 BC428 : Research in Business Computer

35 จากตาราง เป็นการวิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์โดยจำแนกตามชั้นปี และ คณะ พบว่า เมื่อวิเคราะห์ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ พบว่า ความผันแปรร่วมระหว่างชั้นปีและคณะ ไม่มีผลต่อจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ของนักศึกษา ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.692 เมื่อจำแนกตามชั้นปี พบว่าทั้ง 4 ชั้นปีมีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ 0.080 เมื่อจำแนกตามคณะ พบว่ามีอย่างน้อย 2 คณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งค่า Sig ที่ได้จากการทดสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับ ดังนั้น จึงต้องทดสอบเพื่อหาความแตกต่างระหว่างชั้นปี โดยใช้วิธีการสอบสอบ Multiple Comparison Test และเลือกใช้ค่าสถิติ LSD ในการทดสอบ ซึ่ง แสดงผลลัพธ์ในตาราง ดังนี้ BC428 : Research in Business Computer

36 *แสดงคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน
บริหารธุรกิจ บัญชี วิทยาศาสตร์ - 3.23* 3.07* -0.15 *แสดงคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกัน จากตารางพบว่า มีจำนวนคณะที่มีจำนวนชั่วโมงในการสนทนาออนไลน์ที่แตกต่างกัน 2 คู่ ดังนี้คือ คณะบริหารธุรกิจกับคณะบัญชี และคณะบริหารธุรกิจกับคณะวิทยาศาสตร์ โดยทดสอบที่ระดับนัยสำคัญ และคู่ที่มีจำนวนชั่วโมงในการเล่นเกมส์ออนไลน์ที่แตกต่างกันมากที่สุดคือ คณะบริหารธุรกิจกับคณะบัญชี ซึ่งมีค่าความแตกต่างเท่ากับ 3.23 ชั่วโมง BC428 : Research in Business Computer


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ความแปรปรวน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google