ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPranon Narkhirunkanok ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ที่ระบาดใน ประเทศเม็กซิโก A/California/04/2009
2
ไม่ใช่การแพร่ระบาดจากสัตว์สู่คน
ยังไม่มีการแพร่ระบาดเข้ามาในประเทศไทย
3
แนวโน้มรุนแรงน้อยกว่าไข้หวัดนก แต่อำนาจในการกระจายของโรคมีแนวโน้มรวดเร็วกว่าไข้หวัดนก
4
เชื้อไข้หวัดใหญ่ Influenza virus
Type A (พบในสัตว์และคน) Type B (พบในคน) Type C (พบในคน)
5
Hemagglutinin (H) มี 16 ชนิด Neuraminidase (N) มี 9 ชนิด
Matrix protein Nucleoprotein RNA Hemagglutinin (H) มี 16 ชนิด Neuraminidase (N) มี 9 ชนิด
6
การระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ศตวรรษที่ 20
Influenza Pandemics, 20th Century 2461 : Spanish Flu 2500 : Asian Flu 2511 : Hong Kong Flu A(H1N1) A(H2N2) A(H3N2) ตาย ล้านคน ตาย ล้านคน ตาย ล้านคน Credit: US National Museum of Health and Medicine Source: WHO
7
27 เมษายน 2552
8
28 เมษายน 2552
9
สถานการณ์โรค 29 เมษายน2552 (confirmed cases)
Mexico (26/7) USA ใน 10 รัฐ (91/1) cases Austria (1) Canada (13) Germany (3) Israel (2) New Zeland (3) Spain (4) United Kingdom (5)
10
สรุปมติที่ประชุมVDO Conference 27 เมย.52
ใช้ชื่อโรคเบื้องต้นให้ตรงกันคือ โรคไข้หวัดใหญ่ที่ระบาดในประเทศเม็กซิโก ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขประจำวันหรือเป็นระยะ ตั้งศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข(war room)กระทรวงสาธารณสุข
11
สรุปมติที่ประชุมVDO Conference 27 เมย.52
แจ้งจังหวัดเร่งรัดการเฝ้าระวังโรคและเตรียมความพร้อมตามแผนเตรียมความพร้อมที่ได้จัดทำไว้ เสนอคณะรัฐมนตรี - Up date สถานการณ์โรคและความคืบหน้าการดำเนินงานต่าง ๆ - ขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาล
12
The current WHO phase of pandemic alert is 5.
30 เมษายน 2552
13
การจัดระบบการผลิตและเลี้ยงสัตว์ปีก
การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในสัตว์และคน การเตรียมความพร้อมรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ประชาชน ภาคธุรกิจ และนานาประเทศ ยุทธศาสตร์ป้องกันแก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ )
14
มาตรการ ระบบเฝ้าระวังโรค ให้สามารถตรวจค้นหาผู้ป่วยได้เร็ว
ระบบเฝ้าระวังโรค ให้สามารถตรวจค้นหาผู้ป่วยได้เร็ว 1. ระบาดวิทยา - การรายงานโรค 2. ห้องปฏิบัติการ ตรวจได้ไว ขณะนี้สามารถ รายงานโรคได้ภายใน 4 ชม. ?? ความพร้อมของทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรค (SRRT)
15
มาตรการ ความพร้อมของการดูแลผู้ป่วย ห้องแยก บุคลากร
การเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ความร่วมมือของประชาชน ความรู้ความเข้าใจ การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ ตรวจผู้โดยสารที่เดินทางมาจากต่างประเทศ
16
การเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ที่ระบาดในเม็กซิโก
ที่มา : สำนักระบาดวิทยา
17
พื้นที่เสี่ยง ๒๘ เมษายน ๒๕๕๒ เม็กซิโก อเมริกา รัฐ แคลิฟอร์เนีย เท็กซัส นิวยอร์ก แคนซัส โอไฮโอ แคนาดา รัฐบริติชโคลอมเบีย โนวาสโกเทีย
18
๒๗ เมษายน ๒๕๕๒ (อาจมีการปรับเปลี่ยนตามข้อมูลทางวิชาการเพิ่มเติม)
นิยาม ๒๗ เมษายน ๒๕๕๒ (อาจมีการปรับเปลี่ยนตามข้อมูลทางวิชาการเพิ่มเติม) ผู้ป่วยรายงานในข่ายเฝ้าระวัง (Reported case) ผู้ที่มีอาการหรืออาการแสดง ไข้ (อุณหภูมิกายมากกว่า ๓๘ องศา) ร่วมกับ อาการอย่างใดอย่างหนึ่งอันได้แก่ น้ำมูก, ไอ, เจ็บคอ, หายใจผิดปกติ (หอบ, ลำบาก), ปวดกล้ามเนื้อ หรือ แพทย์วินิจฉัยสงสัยว่าเป็นปอดบวม หรือไข้หวัดใหญ่ ร่วมกับ มีประวัติข้อใดข้อหนึ่งดังนี้
19
- สัมผัสสัตว์ปีกโดยตรงในระยะ ๗ วันก่อนวันเริ่มป่วย หรือ
มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ในรอบ ๑๔ วันก่อนวันเริ่มป่วย - อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่พบผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ที่ระบาดในเม็กซิโก (ซึ่งจะมีการกำหนดและแจ้งให้ทราบทางเว็ปสำนักระบาดวิทยา) ในระยะ ๗ วันก่อนวันเริ่มป่วย - มีผู้สัมผัสร่วมบ้านหรือในที่ทำงานป่วยสงสัยไข้หวัดใหญ่หรือปอดอักเสบ ภายใน ๑ สัปดาห์ก่อนวันเริ่มป่วย - ผู้ป่วยปอดบวมที่เป็นบุคลากรทางสาธารณสุข - ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรงหรือเสียชีวิต ที่หาสาเหตุไม่ได้
20
ชนิดตัวอย่างส่งตรวจโรคไข้หวัดใหญ่
และไข้หวัดนก ตัวอย่างสารคัดหลั่งระบบทางเดินหายใจ ตัวอย่างซีรั่ม 2 ครั้ง (ครั้งที่สองห่างจากครั้งแรก 14 วัน) 20
21
ตัวอย่างสารคัดหลั่งระบบทางเดินหายใจ
Throat swab Nasopharyngeal aspirate Nasopharyngeal swab 21
22
ตัวอย่างซีรั่มคู่ 1. เจาะจากเส้นเลือดดำประมาณ 3-5 มล. 2. ปั่นแยกซีรั่มใส่หลอดไร้เชื้อ ปิดจุกให้สนิท ปิดฉลาก 3. เก็บใส่ตู้เย็น 4 องศาเซลเซียล รอจนได้ซีรั่มครั้งที่ 2 4. บรรจุรวมใส่ถุงพลาสติก รัดยาง แช่ในกระติกน้ำแข็ง ส่งตัวอย่างพร้อมกัน 5. ควรเจาะเลือด 2 ครั้ง ระยะเริ่มเป็นโรค(Acute serum) และระยะโรคทุเลา (Convalescent serum) ห่างประมาณ 14 วัน
24
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.