ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKasidid Terdsak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
2
ความตึงผิว การระเหย ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
Liquid properties ความตึงผิว การระเหย ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
3
ความตึงผิว แรงที่ดึงโมเลกุลไว้ไม่ให้หลุดจากผิวหน้าของของเหลวเรียกว่า แรงตึงผิว ปริมาณของแรงตึงผิวขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ถ้ามีมากของเหลวนั้นก็จะมีแรงตึงผิวมาก อุณหภูมิของของเหลว ถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น แต่ละโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยลง จะทำให้แรงตึงผิวน้อยลง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
4
ความตึงผิว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
5
การระเหย ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
6
การระเหย การที่โมเลกุลของเหลว หลุดจากผิวหน้าของของเหลวกลายเป็นก๊าซ เรียกว่า การระเหย ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการระเหย คือ อุณหภูมิ พื้นที่ผิว แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
7
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
ความดันไอของของเหลวเกิดจากโมเลกุลของไอของเหลวชนผนังภาชนะ และในขณะเดียวกับที่เกิดการระเหยในภาชนะปิดนั้นจะเกิดการควบแน่นด้วยเพราะไอของเหลว ที่อยู่ติดผิวหน้าของเหลวถูกดึงดูดโดยโมเลกุลที่ยังไม่ระเหย ไอของเหลวก็จะกลับไปเป็นของเหลวตามเดิมได้ เมื่ออัตราการระเหยเท่ากับอัตราการควบแน่น ความดันไอที่วัดได้ เรียกว่า ความดันไอสมดุล (equilibium vapor pressure) เรียกสั้น ๆ ว่าความดันไอ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
8
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอ
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของของเหลว ถ้าสารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมากความดันไอจะต่ำ เพราะโอกาสที่โมเลกุลจะชนะแรงดึงดูดกลายเป็นไอนั้นยาก อุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของระบบสูง ย่อมทำให้โมเลกุลของสารมีพลังงานจลน์สูงขึ้นโอกาสที่จะระเหยกลายเป็นไอมีมากขึ้นความดันไอก็จะเพิ่มขึ้น สารชนิดเดียวกันที่อุณหภูมิเท่ากันย่อมมีความดันไอเท่ากันเสมอไม่ว่าสารนั้นจะมีปริมาณมากหรือน้อยกว่ากัน นั่นคือ ความดันไอไม่ขึ้นอยู่กับปริมาตรของสาร 4. ความดันไอจะเกิดขึ้นที่ภาวะสมดุลเท่านั้น ดังนั้นต้องพิจารณาในระบบปิดเสมอ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
9
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
10
การทดลองความดันไอของของเหลว
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
11
การทดลองความดันไอของของเหลว
การทดลองที่ 5.2 การเปรียบเทียบความดันไอของของเหลว ใส่เอทานอล 3 cm3 ลงในหลอดทดลองขนาดกลาง ปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางที่มีหลอดนำก๊าซเสียบอยู่ให้ปลายหลอดนำก๊าซจุ่มอยู่ในของเหลว ปรับระดับของเหลวในหลอดทดลอง นำหลอดทดลองจากข้อ 2 แช่ในบีกเกอร์น้ำร้อนที่มีอุณหภูมิประมาณ 40oC สังเกตระดับของของเหลวในหลอดนำก๊าซตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งของเหลวมีระดับคงที่ ปรับอุณหภูมิของน้ำในบีกเกอร์ในข้อ 3 ให้ได้ประมาณ 60oC สังเกตระดับของของเหลวในหลอดนำก๊าซอีกครั้ง ทำการทดลองซ้ำตั้งแต่ ข้อ 1-4 แต่เปลี่ยนชนิดของของเหลวจากเอทานอล เป็นน้ำ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
12
แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ชุดที่2 ผู้สอน อ.ศราวุทธ แสงอุไร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.