งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9 2. เด็กหญิงพุธิตา ไชยเชาวน์ เลขที่ 29 3. เด็กชายชยุติมันต์ โนแก้ว เลขที่ 52 โรคความดันโลหิตสูง หมายถึง โรคของหลอดเลือดแดง ซึ่งแรงต้าน ต่อหัวใจขณะบีบตัว วัดแล้วได้ 140 มม. ปรอท หรือมากกว่า และขณะที่หัวใจคลายตัว 90 มม. ปรอท หรือมากกว่า

2 สาเหตุ ของโรคความดันโลหิตสูง
1. อายุ มากขึ้น ความดันโลหิตจะสูงขึ้น 2. เวลา ความดันโลหิตจะขึ้นๆ ลงๆ ไม่เท่ากันตลอดวัน 3. จิตใจและอารมณ์ มีผลต่อความดันโลหิต ความเครียด ทำให้ความดันโลหิตสูงกว่าปกติ 4. เพศ เพศชายจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง บ่อยกว่าเพศหญิง 5. พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม 6. สภาพภูมิศาสตร์ สังคมเมืองจะพบภาวะความดัน โลหิตสูงมากกว่าในสังคมชนบท

3 สาเหตุ ของโรคความดันโลหิตสูง (ต่อ)
สาเหตุ ของโรคความดันโลหิตสูง (ต่อ) 7. เชื้อชาติ พบว่าชาวแอฟริกัน มีความดันโลหิตสูงมากกว่า ชาวอเมริกันผิวขาว 8. รับประทานอาหารที่เค็มจัด มีโอกาสเกิดโรคความดันโลหิตสูงมากกว่า

4 อาการของคนเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะไม่ปรากฏอาการให้เห็น หรืออาจจะพบว่ามีอาการปวดศีรษะมึนงง เวียนศีรษะ และเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอกหรือนอนไม่หลับ ภาวะแทรกซ้อนของคนเป็นโรคความดันโลหิตสูง 1. หัวใจทำงานหนักขึ้น ทำให้หัวใจวายได้ 2. อาจเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตก 3. เลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ เนื่องจากหลอดเลือดเสื่อม ทำให้ไตวายเรื้อรัง 4. หลอดเลือดแดงในตาจะเสื่อมลง ทำให้ประสาทตาเสื่อม ตามัวลงเรื่อยๆ จนตาบอดได้

5 ข้อควรปฏิบัติเมื่อมีความดันโลหิตสูง
1. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 2. ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มจัด 3. ลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และงดสูบบุหรี่ 4. ลดความเครียด 5. ลดน้ำหนักตัว 6. รับประทานยา และพบแพทย์สม่ำเสมอ


ดาวน์โหลด ppt โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google