งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย
4 October , Graduate Seminar Briefings สถานการณ์ปัจจุบันและประเด็นปัญหาเขื่อนในประเทศไทย แนวคิดและความจำเป็นในการสร้างเขื่อน ณ ปัจจุบันในประเทศไทย ภาระกิจ + วิศวกรรมและธรณีวิทยาเกี่ยวกับเขื่อน + ความจำเป็นในการสร้างเขื่อนในประเทศไทย (แก่งเสือเต้น) ความคิดเห็น + ประเทศไทยจำเป็นต้องมีเขื่อนเพิ่มขึ้นหรือไม่ (ผลกระทบทางบวก/ลบด้านธรณีวิทยา) + ทำไมหน่วยงานต่างๆ จึงพูดถึง เขื่อนแก่งเสือเต้นอีกครั้ง

2 4. โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น 5. ทำไม แก่งเสือเต้น
1. Dam Geology 2. ความต้องการเขื่อนในประเทศไทย 3. Water Resources Development – โครงการพัฒนาลุ่มน้ำยม 4. โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น 5. ทำไม แก่งเสือเต้น 6. คำถามเกี่ยวกับเขื่อน

3 DAMS Dam Type Classification 1. Based on Purposes / จำแนกตามจุดประสงค์การใช้งาน . Storage or Impounding Dam + Hydro-electric power + Irrigation + Water supply .. Industry and domestic supply + Multiple or multipurpose dam . Regulating or Detention Dam + Flood regulation dam + Artificial recharge reservoir + Irrigation regulating dam 2. Based on Construction Materials 2.1 Gravity Dam - เหมาะสำหรับ Rock foundation and wide shallow valley และต้องมีแหล่งวัสดุก่อสร้างเป็นจำนวนมาก Aggregate supplies ต้องมีมาก - Crest length > 5 H - Cu lbf/in2 (0.855 – 1.07 MN/m2)

4 - Base width = 2/3 H - Triangular in cross-section ในกรณีจะให้ประหยัดในการก่อสร้าง สามารถลดปริมาณคอนกรีตลงได้ โดยออกแบบเป็น pre-stressed gravity dam โดยติดตั้งสมอเขื่อนยึดกับหินฐานราก 2.2 Buttress Dam Strong foundation rock ( MN/m2) 2.3 Arch Dam เขื่อนโค้งรูปกะทะ + Thick Arch Dam . W/H = และมีหินที่เป็นไหล่เขื่อนที่แข็งแรง(strong abutments : strength MN/m2) + Thin Arch Dam . Crest cord / H < 3 . Strong abutments(5.35 – 7.49 MN/m2)

5 2.4 Dome Dam/ Cupola Dam เขื่อนรูปโค้งกะทะ มีความโค้งทั้งแนวนอนและแนวตั้ง . Sound foundation and abutments 2.5 Multiple Arch- Buttress Dam เขื่อนผสมระหว่าง Arch dam & Buttress dam 2.6 Embankment Dam . Earth fills soft floors . Rock fills . Impounding depth > 30 m. RESERVOIR Dam Site Geology Consider the following items : .. Foundation .. Reservoir Watertightness .. Construction Materials

6 Selection of Reservoir Sites
เกณฑ์การคัดเลือกแหล่งสร้างอ่างเก็บน้ำ มีดังนี้ (i) Storage potential / ศักยภาพในการเก็บกักน้ำ .. Topography of the reservoir basin (ii) Hydrogeological regime of the catchment > Precipitation (iii) Environmental constrainsts Geological Criteria . Reservoir Watertightness . Seepage --- > Permeable foundation . Leakage .. การรั่วซึมผ่านทาง Residual soils / weathered zones .. รั่วผ่าน transported soils (buried channels , etc.) .. รั่วผ่านทางอุโมงค์เก่า / old mine workings .. รั่วผ่านทาง faults , joints , bedding .. รั่วผ่านทาง caves , solution channels , soluble rock basin (karstic features) . Reservoir side instability after impounding การเกิดการพังทลายของฝั่งขอบอ่างเก็บน้ำ เมื่อมีการกักเก็บ

7 . Construction Materials
แหล่งวัสดุก่อสร้าง ที่จะใช้ในงานก่อสร้างเขื่อน ต้องอยู่ใกล้แหล่งก่อสร้าง ชนิดของวัสดุจะขึ้นกับชนิดของเขื่อนที่จะสร้าง เช่น Clay core , Riprap , Blanket /liners , Aggregates , Bulk fills , etc. (การสำรวจแหล่งวัสดุก่อสร้าง) . Dam Foundation Dam Site : .. Dam site geology (geol. mapping + Outcrop inspection + Excavation / pitting , etc. + Groundwater conditions + Site geology maps + Bore hole Sections + Rock head relations and weathering profiles Structural Data .. Rock / Soil typs Classifications .. Rock origins + Weathering profiles .. Mass permeability (K) and abutment stability .. Bedrock conditions .. Initial groundwater regimes (for potential leakage assessment)

8 + Use BH. Data to determine localized water pressure (pore pressure) and to install piezometers
.. Permeability along the FLANKS and dam site. .. Buried channels --- > determined by soft ground drilling in combination with seismic surveys. .. Deformability of rock and concrete (for concrete dam) + E concrete vs. E rock จะต้องมีค่าใกล้เคียงกัน เพื่อป้องกัน differential deformation .. Geological cross-sections --- > แสดงข้อมูลในรูปของ BH-logs Reservoir Feasibility: ความเหมาะสมของอ่างเก็บน้ำ เกณฑ์ในการพิจารณามีดังนี้ ;- .. Watertightness .. Dam foundation .. Construction materials .. Stability of valley sides (reservoir sides) .. Reservoir induced seismicity .. Siltation --- > silt traps .. Pollution + Mineral deposits --- > waste mine (abandon mines) + Organic deposits -- > peat deposit

9 Reservoir Location : การคัดเลือกตำแหน่งที่ตั้งเขื่อน พิจารณาจากเกณฑ์ 2 ประการ (i) Availability of water - Hydro-electricity - Irrigation - Water supply - Regulation (ii) Topography - Cost - Volume of water impounded (iii) Watertightness Seepage / Leakage การรั่วซึมจากเขื่อนเกิดขึ้นได้ หลายทาง ได้แก่ a) Through dam and dam foundation b) Through reservoir flanks and bedrock conditions + Lithologies . Structures . Geomorphology (buried channels , etc.) . Artificial excavation (mining) . Leakage through soluble rocks (caves , solution tunnels, fracture system) c) Through reservoir basin -- > . Blanket breakage . Geological defects

10 THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt เขื่อน กับความต้องการของประเทศไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google