ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ
2
พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
ความยาวพันธะ หมายถึง ระยะทางระหว่างนิวเคลียสของอะตอมสองอะตอมที่สร้างพันธะกันในโมเลกุล อะตอมแต่ละชนิดอาจเกิดพันธะมากกว่า 1 ชนิด เช่น C กับ C , N กับ N และพันธะแต่ละชนิดจะมีพลังงานพันธะและความยาวพันธะแตกต่างกัน พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
3
พลังงานพันธะ พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
หมายถึง พลังงานที่ใช้ไปเพื่อสลายพันธะระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลซึ่งอยู่ในสถานะแก๊สให้แยกออกเป็นอะตอมในสถานะแก๊ส พลังงานพันธะใช้บอกความแข็งแรงของพันธะ พันธะสาม > พันธะคู่ > พันธะเดี่ยว
4
การคำนวณ ตัวอย่างที่ 1 กำหนดพลังงานให้ดังนี้ H – H = 436 kJ/mol
N N = 945 kJ/mol และ N – H = 391 kJ/mol ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ดูดหรือคายพลังงานเท่าใด 2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g)
5
ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 2346 – 2253 = 93 kJ
2NH3 (g) N2 (g) + 3H2 (g) 2H – N – H N N + 3(H – H) 6(N – H) N N + 3(H – H) 6 x x 436 2346 kJ kJ H ปฏิกิริยาดูดพลังงาน = 2346 – 2253 = 93 kJ
6
การคำนวณ ตัวอย่างที่ 2 กำหนดพลังงานให้ดังนี้ C C = 945 kJ/mol และ
C – H = 431 kJ/mol C – C = 436 kJ/mol 1.ถ้าเผาไหม้ โมเลกุล C2H2 มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด 2.ถ้าเผาไหม้ โมเลกุล C2H4 มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด
7
เรโซแนนซ์ (Resonance)
หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ไม่สามารถเขียนสูตรโครงสร้างเพียงหนึ่งสูตรเพื่อแทนสมบัติของสารบางชนิดได้อย่างถูกต้อง ต้องเขียนโครงสร้างมากกว่า 1 สูตร จึงแทนสมบัติที่แท้จริงของสารนั้นได้
8
ตัวอย่าง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) S S O O O O
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.