ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
ปัจจุบัน (1994) ได้มีการค้นพบเชื้อนี้ 2296 สายพันธุ์ และเกือบทุก สายพันธุ์มีศักยภาพทำให้เกิดโรคได้ในโฮสต์หลายชนิด มีการติดเชื้อจากสัตว์มาสู่คน esp สุกรและไก่ เชื้อที่พบในเนื้อสัตว์เพียง 1000 เซลล์ ก็ทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษในคนได้ ทำให้โรคนี้มีความสำคัญทาง public health มากขึ้น
2
Stephen, 1991 คนอเมริกันที่เป็น Salmonellosis ติดจาก
Green, พบว่า 66.9% ของไก่ที่สำรวจในโรงฆ่า 15 แห่ง ในปี 1979 มีเชื้อซัลโมเนลลาในพิสัย 2.5% % Stephen, คนอเมริกันที่เป็น Salmonellosis ติดจาก เนื้อไก่ % ไข่ 3.4% เชื้อซัลโมเนลลาที่พบในไก่นั้น มีทั้งชนิดที่เกิดจากการปนเปื้อน จากสิ่งแวดล้อมและจากเชื้อที่ เป็นสาเหตุทำให้ไก่ป่วยเป็นโรค
3
Salmonellosis สามารถจำแนกได้เป็น 3 กลุ่ม
1. โรคพัลโลรุ่ม (Pullorum disease)/โรคขี้ขาว * ทำความเสียหายอย่างรุนแรง เกิดจาก S. pullorum 2. โรคไทฟอยด์ไก่ (Fowl typhoid) เกิดจาก S. gallinarum 3. โรคพาราไทฟอยด์ไก่ (Fowl paratyphoid) ส่วนใหญ่เกิดจาก S. typhimurium 1 & 2 เป็นเชื้อชนิด non-motile และเป็นโรคของไก่โดยเฉพาะ ส่วนกลุ่มที่ 3 มีบทบาทในการทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษในคน
4
การติดต่อ 1. ติดเชื้อในแนวดิ่ง (Vertical transmission)
การถ่ายเชื้อจากแม่ที่เป็นโรค มายังลูกไก่ เป็นสาเหตุที่สำคัญมาก เพราะว่าโรคเกิดในระบบสืบพันธุ์ ซึ่งรวมอยู่กับระบบขับถ่าย จะทำให้ ไข่ติดเชื้อ ดังนั้นลูกไก่จะติดเชื้อ ตั้งแต่เกิดและไข่ที่ติดเชื้อทำให้เกิด การแพร่เชื้อในตู้ฟักและตู้เกิด
5
2. ติดเชื้อในแนวราบ (Horizontal transmission)
ไก่ติดเชื้อจากการเลี้ยงรวมกันเป็นฝูง ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตไข่ 2.1 จากการสัมผัสกับไก่ป่วย (นิสัยชอบจิกก้น) 2.2 ลูกไก่แรกเกิดติดต่อกันจาก การสัมผัสขณะที่อยู่ในตู้ฟักและตู้เกิด 2.3 ไก่ป่วยถ่ายเชื้อปนเปื้อนในอาหาร น้ำ และสิ่งรองนอน 2.4 สัตว์ที่เป็นพาหะ
6
โรคพัลโลรุ่มหรือโรคอุจจาระขาว (Pullorum disease)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Salmonella pullorum ซึ่งเป็นเชื้อรูปร่างแท่ง ย้อมติดสีกรัมลบ อาการ 1. ลูกไก่ การติดเชื้อจากแม่ (แนวดิ่ง) ตายในตู้ฟัก อ่อนแอและแพร่เชื้อ
7
อาการ 1. ลูกไก่ (ต่อ) ลูกไก่ที่ติดเชื้อหลังฟักมีอาการ:
1. ลูกไก่ (ต่อ) ลูกไก่ที่ติดเชื้อหลังฟักมีอาการ: อ่อนเพลีย เคลื่อนไหวช้า นอนสุม ส่งเสียงร้อง มักจับกลุ่มใกล้ไฟกก ปีกขนเปียก ยุ่งเหยิง กระหายน้ำมาก หายใจลำบาก อัตราการตายสูงถึง 70% โดยเฉพาะ หลังแสดงอาการได้ 1-2 วัน (ลูกไก่อายุ 4-5 วัน) ตัวที่รอดท้องเสีย อุจจาระขาวติดก้น
8
อาการ (ต่อ) 2. ไก่ใหญ่ อาจทำให้เกิดโลหิตเป็นพิษ แต่ ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง ท้องเสีย ไข่ลด ซีด ลูกไก่ตายโคม (3-5 วัน) รังไข่อักเสบ ตอบสนองต่อยาเป็นครั้งคราว ไม่สามารถทำลายเชื้อหมด เชื้อซัลโมเนลลาเป็นเชื้อที่ดั้งเดิมพบในทางเดินอาหารของคนและสัตว์ แต่ในไก่พบว่ามักเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับทางเดินอาหารและระบบสืบพันธุ์
9
2. โรคไทฟอยด์ไก่ (Fowl typhoid)
มีการติดเชื้ออย่างรุนแรงในระบบทางเดินอาหาร และต่อเนื่อง ทำให้เกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิต esp. ไก่ที่กำลังเจริญเติบโต และไก่ใหญ่ อาการ 1. แบบรุนแรง ท้องเสีย ตาย 2. แบบเรื้อรัง เป็นตัวอมโรคและแพร่โรค : ซีด อ่อนแอ ให้ไข่ลด ไข่ตายโคม รังไข่อักเสบ วิการ ตับขยายใหญ่ มีสีบรอนซ์ และเป็นวิการจำเพาะของโรค
10
.โรคพาราไทฟอยด์ไก่ (Fowl paratyphoid)
เกิดจากการติดเชื้อ Salmonella ซึ่งไม่ใช่ 2 spp. ที่กล่าวมาแล้ว (ที่สำคัญมี 20 ชนิด และสำคัญที่สุดคือ S. typhimurium อาการ มักพบในลูกไก่ อาการคล้าย pullorum วิการ ถุงไข่แดงไม่ถูกดูดซึม ตับเลือดคั่งและจุดเนื้อตาย, ลำไส้อักเสบ
11
การวินิจฉัย 1. จากประวัติ, อาการ: ท้องเสีย อุจจาระขาว วิการ : ไก่ระยะผลผลิตมีการอักเสบ ฝ่อของรังไข่ ก้อนไข่แดง ถุงน้อย ฝ่อ 3. การเจาะเลือด เก็บซีรั่ม ทดสอบกับแอนติเจน (Plate Agglutination test) 4. โดยการเพาะเชื้อ : ส่ง ตับ, ลำไส้, ท่อนำไข่ ตะกอนแสดงว่าให้ผลบวก
12
การป้องกันโรค การรักษา
หลีกเลี่ยงการนำลูกไก่จากฟาร์มที่มีโรคระบาด (ไม่มีวัคซีน) สุ่มเจาะเลือดพ่อแม่พันธุ์ หากพบโรคให้คัดทิ้ง การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะผสมน้ำหรืออาหาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.