งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
บทที่ 6 การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์ BC428:Research in Business Computer

2 การปรับค่าตัวแปร การปรับค่าให้กับตัวแปรใหม่ อายุ  1. ต่ำกว่า 16 ปี
อายุ  1. ต่ำกว่า 16 ปี  ปี  ปี  4. ตั้งแต่ 26 ปี อายุ ปี คำสั่งที่ใช้ Transform  Recode  into difference variables สามารถ download data ผ่านทางเว็บไซต์อาจารย์บุษรา BC428:Research in Business Computer

3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์
การปรับค่าให้กับตัวแปรเดิม ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับคะแนน มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 1.คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น 2.คอมพิวเตอร์มีส่วนทำให้พัฒนาการของมนุษย์เสื่อมลง 3.คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ Negative Question คำสั่งที่ใช้ Transform  Recode  into same variables BC428:Research in Business Computer

4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์
การสร้างตัวแปรใหม่จากสูตร ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับคะแนน มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) 1.คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น(A1) 2.คอมพิวเตอร์มีส่วนทำให้พัฒนาการของมนุษย์เสื่อมลง(A2) 3.คอมพิวเตอร์มีส่วนช่วยสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ(A3) เช่น ต้องการสร้างตัวแปร Attitude สำหรับ เก็บค่าเฉลี่ยของคำถาม 3 ข้อ คำสั่งที่ใช้ Transform  Compute BC428:Research in Business Computer

5 การแก้ไข ข้อมูลต่าง ๆ ลองใช้เอง(ไม่ยาก)
BC428:Research in Business Computer

6 การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของคำถาม
โดยการตรวจสอบความเชื่อถือได้(Reliability) ของเครื่องมือ โดยใช้วิธีทางสถิติในการวัดค่า โดยใช้วิธีการวัดความสอดคล้องกัน ภายในชุดของข้อคำถาม โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอน บาค (Cronbach’s Alpha) BC428:Research in Business Computer

7 Cronbach’s Alpha ใช้วัดความเชื่อมั่น(Reliability) ของแบบสอบถาม
ค่าสัมประสิทธิ์อยู่ในช่วง 0 ถึง 1 ค่าสัมประสิทธิ์ที่ดีควรวัดได้มากกว่า 0.6 ในกรณีที่ข้อคำถามน้อย และค่าวัดได้มีค่าต่ำกว่า 0.6 ควรใช้วิธีการเก็บแบบสอบถามเพิ่ม ในกรณีที่ข้อคำถามมีจำนวนมาก และค่าที่วัดได้มีค่าต่ำกว่า 0.6 อาจจะตัดคำถามบางข้อที่ส่งผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิ์ทิ้ง เหมาะกับข้อคำถามที่ใช้ถามความคิดเห็น ทัศนคติ การจัดลำดับ หรือแบบทดสอบประเมินค่า เป็นต้น จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นกลุ่มทดลอง ประมาณ 30 คน BC428:Research in Business Computer

8 ทัศนคติต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของคำถาม (จากไฟล์ Pretest.sav) ทัศนคติต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับความคิดเห็น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย เฉยๆ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1. ไอทีมีส่วนช่วยลดระยะเวลาในการทำงาน 2. ไอทีมีส่วนช่วยลดภาระในการทำงานเรื่องต่าง ๆ 3. ไอทีมีส่วนช่วยเพิ่มเทคนิคและวิธีการทำงานให้ดีขึ้น 4. ไอทีมีส่วนช่วยดึงดูดความสนใจในการทำงานแต่ละวัน 5. ไอทีมีส่วนช่วยให้ผลงานที่ทำมีความน่าสนใจมากขึ้น คำสั่งที่ใช้ Analyze  Scale  Reliability Analysis... BC428:Research in Business Computer

9 ผลลัพธ์ 1 2 3 4 BC428:Research in Business Computer

10 ตัวอย่างการเขียนผลการวิเคราะห์ กรณีที่มีกลุ่มคำถามหลายหมวด
จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างทดลองทั้งหมด 30 ชุด ผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในเรื่องต่าง ๆ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้ผลการวิเคราะห์ดังตาราง ตาราง แสดงค่าความเชื่อมั่นของคำถามในหมวดต่าง ๆ หมวดคำถาม ค่า Cronbach’s Alpha ปริมาณการใช้อินเทอร์เน็ต - ด้านการศึกษา 0.789 - ด้านการติดต่อสื่อสาร 0.655 - ด้านบันเทิง 0.683 - ด้านธุรกิจ 0.846 พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในด้านที่ไม่เหมาะสม 0.780 เจตคติต่อการใช้อินเทอร์เน็ต 0.774 ปัญหาและข้อจำกัดจากการใช้อินเทอร์เน็ต 0.766 BC428:Research in Business Computer


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google