ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSajja Sansurin ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (∆Hfus) < ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (∆Hvap) เราสามารถใช้ phase diagram ในการบอกวัฎภาคของสารที่ T และ P ต่างๆ ได้ จุดเดือดของการต้มน้ำบนยอดเขาสูงจะต่ำกว่าบนพื้นราบ (ความร้อนที่จุดเดือดน้อยลง) น้ำแข็งแห้งระเหิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยไม่ผ่านวัฏภาคของเหลว
2
2. ของแข็ง (Solid) 2. ของแข็ง ของแข็งอสัณฐาน & ของแข็งที่เป็นผลึก
หน่วยที่เล็กที่สุดของผลึกคือ unit cell การบรรจุทรงกลมในเซลล์ - แบบลูกบากศ์ 3 แบบ ได้แก่ scc, bcc & fcc (or ccp) - แบบชิดที่สุด 2 แบบ ได้แก่ hcp & ccp (or fcc) ปริมาตรของอะตอมทั้งหมดในหน่วยเซลล์ = จำนวนอะตอมทั้งหมด x (4/3)pr3 ผลึกมี 4 ประเภท คือ ไอออนิก(เกลือ) โควาเลนต์(คาร์บอน) โลหะ และโมเลกุล(น้ำแข็ง) Unit cell ของผลึกไอออนิก NaCl ZnS CeCl และ CaF2 2 2
3
3. ของเหลวและสารละลาย (Liquid & Solution)
2. ของแข็ง 3. ของเหลวและสารละลาย (Liquid & Solution) กระบวนการละลาย ∆Hsolution = ∆H1 + ∆H2 + ∆H3 => ∆Hsolution > 0 การเกิดสารละลายดูดความร้อน => ∆Hsolution < 0 การละลายคายความร้อน (เมื่อ ∆H1 & ∆H2 => สลายพันธะ ส่วน ∆H3 สร้างพันธะ) สภาพการละลาย (s) - ของแข็ง = T เพิ่ม s เพิ่ม (ดูดความร้อน) และ T เพิ่ม s ลด (คายความร้อน) - T เพิ่ม s ของแก๊สลด แต่ P เพิ่ม s ของแก๊สเพิ่ม หลักการของการกลั่นลำดับส่วน สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย - การลดความดันไอ การเพิ่มจุดเดือด การลดจุดเยือกแข็ง ความดันออสโมซิส ไปที่ e-learning 3 3
4
4. แก๊ส (Gas) กฎของบอยล์ V α 1/P หรือ P1V1 = P2V2
2. ของแข็ง 4. แก๊ส (Gas) กฎของบอยล์ V α 1/P หรือ P1V1 = P2V2 กฎของชาร์ลและเกย์-ลูสแซค V α T หรือ V1 / T1 = V2 / T2 สมการของแก๊สสมบูรณ์แบบ PV = nRT หรือ (P1V1) / T1 = (P2V2) / T2 ความหนาแน่นของแก๊ส d = m/v = PM / RT สมการของแก๊สจริง ความดันของแก๊สจริง ต่ำกว่า ความดันของแก๊สสมบูรณ์แบบ แก๊สสมบูรณ์แบบ PV/RT = 1 เมื่อ P เข้าใกล้ศูนย์ แก๊สทุกชนิดแสดงพฤติกรรมคล้ายแก๊สสมบูรณ์แบบ คือ PV/RT เข้าใกล้ 1 4 4
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.