ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
2
3.1 ลำดับและลิมิตของลำดับ (Sequences and Limit of Sequences)
เมื่อกล่าวถึงลำดับ โดยทั่วไปจะนึกถึงจำนวนที่เขียนเรียงๆกันมี ตัวที่ 1 ตัวที่ 2 ตัวที่ 3 และต่อๆไป ตัวอย่างเช่น 1, , , , , , . . . –1, 1, –1 , 1, … , (–1)n, ... 2, 4, 6, 8, …, 2n, ...
3
บทนิยาม 3.1.1 ลำดับจำนวนจริง เป็นฟังก์ชันจากเซตของจำนวนนับ ไปยังเซตของจำนวนจริง
ตัวอย่างลำดับ และรูปแบบลำดับที่กำหนดโดยพจน์ที่ n ลำดับ = 1 , , , , , , . . . เขียนเป็นรูปแบบทั่วไป = ลำดับ = 0, 2, 0, 2, …, 1 + (–1)n, ...
4
ตัวอย่างลำดับ และรูปแบบลำดับที่กำหนดโดยพจน์ที่ n
เขียนเป็นรูปแบบทั่วไป = ลำดับฟีโบนัคซี (Fibonacci sequence) ซึ่งนิยามดังนี้ f = เมื่อ f1 = 1, f2 = 1, fn+1 = fn–1 + fn ( n 2 ) ลำดับนี้ คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, …
5
กำหนด = 1 , , , , , , . . . พิจารณาลำดับต่อไปนี้ (1) 1 , , , , …, , ... (2) , , , , …, , ... (3) 1 , , , , …, , ...
6
บทนิยาม 3.1.2 ถ้า s = เป็นลำดับของจำนวนจริง
และ a = เป็นลำดับของจำนวนเต็มบวก ที่ a( i ) < a( j ) เมื่อ i < j ( i, j ) แล้วจะเรียกฟังก์ชัน ประกอบ sa ว่าเป็น ลำดับย่อย (subsequence) ถ้า a : โดยที่ a( i ) = ai และ ai < aj เมื่อ i < j สำหรับ i, j และ s : โดยที่ s( n ) = sn
7
sa( i ) = s( a( i ) ) = s( ai ) = สำหรับ i sa( i ) = = , , , ...
8
ลิมิตของลำดับ (Limit of Sequences)
ลำดับบางลำดับมีลิมิต บางลำดับไม่มีลิมิต เช่น กล่าวว่าเป็นลำดับที่ไม่มีลิมิต 1, 0, 1, 0, 1, … , , 1, , , , , , , . . . 2, 2, 2, 2, 2, …, 2, ... กล่าวว่าเป็นลำดับที่มีลิมิตเท่ากับ 0 กล่าวว่าเป็นลำดับที่มีลิมิตเท่ากับ 2
9
บทนิยาม ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง จะกล่าวว่าลำดับ มีลิมิตเท่ากับจำนวนจริง L ก็ต่อเมื่อ แต่ละจำนวนจริงบวก จะมี จำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | < สำหรับ n k ลำดับ มีลิมิตเท่ากับ L เราจะเขียนแทนด้วย = L หรือ sn L เมื่อ n
10
ตัวอย่าง 2 กำหนด = 1, , , , , ... , , . . . จงพิสูจน์ว่า = 0 การพิสูจน์ ให้ > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | – 0 | < , n k พิจารณา | – 0 | = เลือก k ซึ่ง < k
11
ทำให้ | – 0 | = < , n k นั้นคือ =
12
จากบทนิยามจะเห็นว่าสำหรับแต่ละ > 0 สามารถเลือก k ที่ใหญ่เพียงพอซึ่งจะทำให้พจน์ที่มากกว่าหรือเท่ากับ k ทำให้อสมการเป็นจริง การเลือก k ในตัวอย่าง 2 ขึ้นอยู่กับ เช่น ถ้า = เลือก k = 5 ทำให้ | | < 0.25, n 5 = เลือก k = 41 ทำให้ | | < 0.025, n 41 = เลือก k = 401 ทำให้ | | < , n 401 เป็นต้น มีลำดับบางลำดับที่การเลือก k ไม่ได้ขึ้นกับค่า ดังตัวอย่าง 3
13
ตัวอย่าง 3 กำหนด เมื่อ sn = 2 ( n = 1, 2, 3, … )
จงแสดงว่า = 2 การพิสูจน์ ให้ > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – 2 | < , n k เนื่องจาก | sn – 2 | = | 2 – 2 | = 0 < , n สามารถเลือก k = 1 ( ไม่ได้ขึ้นกับ ) ทำให้ | sn – 2 | < , n 1 นั่นคือ =
14
ตัวอย่าง 4 กำหนด โดยที่ sn = 2n เมื่อ n = 1, 2, 3, …
จงแสดงว่า ลำดับ ไม่มีลิมิต การพิสูจน์ จะแสดงโดยการขัดแย้ง สมมติให้ = L เลือก = 1 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – L | < 1 , n k ดังนั้น | 2n – L | < 1 , n k < n < , n k
15
เกิดการขัดแย้ง เพราะ , n < n
นั้นคือ = ไม่มีลิมิต
16
ตัวอย่าง 5 ลำดับ = คือลำดับ 0, 2, 0, 2, …
จงแสดงว่าลำดับ ไม่มีลิมิต การพิสูจน์ สมมติให้ = L ถ้า = จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง | sn – L | < , n k พจน์ที่ n ของลำดับคือ sn = 1 + (–1)n จึงแยกพิจารณา | 1 + (–1)n – L | ได้ 2 กรณี ถ้า n เป็นจำนวนเต็มคี่ จะได้ | –L | = | L | <
17
ถ้า n เป็นจำนวนเต็มคู่ จะได้ | 2 –L | <
เนื่องจาก 2 = | 2 – L + L | | 2 – L | + | L | < = 1 ซึ่งเป็นไปไม่ได้ นั่นคือ ลำดับ ไม่มีลิมิต
18
ตัวอย่าง 6 กำหนด = จงพิสูจน์ว่า = 2 การพิสูจน์ ให้ > 0 จะหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | – 2 | < , n k พิจารณา | – 2 | = | | = | |
19
ต้องการ < เนื่องจาก < , n เพียงพอที่จะพิจารณา < , n k เลือก k > ทำให้ | – 2 | < < , n k นั้นคือ =
20
ทฤษฎีบท 3.1.3 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริงที่ sn 0 ทุก n และ = L แล้ว L 0
การพิสูจน์ จะแสดงโดยใช้การขัดแย้ง สมมติ L < 0 เนื่องจากลำดับ มีลิมิต เลือก = – > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ที่ทำให้ | sn – L | < – , n k พิจารณาเฉพาะกรณี | sk – L | < –
21
ทำให้ลำดับมีพจน์ที่ k ที่น้อยกว่าศูนย์ เกิดการขัดแย้งที่ sn 0 ทุก n
sk – L < – sk < < 0 ทำให้ลำดับมีพจน์ที่ k ที่น้อยกว่าศูนย์ เกิดการขัดแย้งที่ sn 0 ทุก n นั่นคือ L 0
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.