ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยJatukamramthep Sasiprapa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550 ** จำนวน รายงานทั้งหมด 139 ฉบับ ** เกิด ADR จำนวน 165 รายการ ** จากยาที่สงสัย จำนวน 183 ตัวยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.1 เกิด ADR ที่ไม่ร้ายแรง โดยผลที่เกิด ADR ส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.3 หายเป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม
2
Ceftriaxone 13 ราย Cotrimoxazole 10 ราย Dicloxacillin 9 ราย
3
รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง
** Toxic Epidermal Necrolysis (Ten) จำนวน 3 ราย จากยา Allopurinal 1 ราย Cotromoxazole 1 ราย Tetracycline 1 ราย ** Stevens Johnson Syndrome จำนวน 2 ราย จากยา Allopurinal 1 ราย Cotrimoxazole 1 ราย
4
รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง
** Anaphylaxis shock จำนวน 7 ราย จากยา Allopurinal 2 ราย Ceftriaxone 3 ราย Ciprofloxacin 1 ราย Mydoclam 1 ราย
5
รายงาน ADR ตามระบบอวัยวะของร่างกาย
6
Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 90 ปี Dx. Chronic ischaemic heart disease, unspecified Med : 26 กย. 50 Imdur 1 x 1 pc ASA I 1 x 1pc Ativan 1 x hs Senokot 3 x hs Parafon forte 1 x 3 pc Ezetrol (10) 1 x 1 pc ยาเดิม ได้ต่ออีก 1 mo. = 21 เม็ด ** ครั้งแรก
7
26 กันยายน 2550 : หลังทานยา ผป.เกิดอาการแน่นหน้าอก
8 ตุลาคม 2550 : vastarel MR 1 x 2 pc 9 ตุลาคม 2550 : ASA I 2 x 1 pc 10 ตุลาคม 2550 : ผป.หยุดยา Ezetrol อาการแน่นหน้าอกดีขึ้น 9 ตค 26 ตค 8 ตค 10ตค Vastarel MR Off Ezetrol Imdur , ASA I , Ativan , Senokot, Parafon forte , Ezetrol (10) ASA I
9
4 ADR probability scale ใช่ ไม่ใช่ ไม่ทราบ
1. เคยมีสรุปหรือรายงานปฏิกิริยานี้กับยาที่สงสัยชนิดนี้มาแล้ว +1 2. อาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นภายหลังจากการได้รับยาที่สงสัย +2 -1 3. อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น เมื่อหยุดยาที่สงสัยหรือเมื่อให้ยาต้านที่เฉพาะเจาะจง 4. อาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าว เกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มให้ยาที่สงสัยเข้าไปใหม่ 5. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่นนอกเหนือจากยาที่สงสัยได้ 6. ปฏิกิริยาดังกล่าวเกิดขึ้นอีก เมื่อผู้ป่วยได้รับยาหลอก 7. สามารถตรวจวัดระดับยาที่สงสัยในเลือด 8. ปฏิกิริยารุนแรงขึ้นเมื่อเพิ่มขนาดยา หรือลดลงเมื่อลดขนาดยา 9. ผู้ป่วยเคยมีปฏิกิริยาคล้ายกันนี้มาแล้ว เมื่อได้รับยาในครั้งก่อน 10. อาการไม่พึงประสงค์นั้น มีหลักฐานได้รับการยืนยันโดยวิธีที่เหมาะสม คะแนนรวม 4
10
Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 35 ปี ประวัติ AF with CHF with MVR on warfarin มาตลอด ตั้งแต่ปี 2547 (Goal INR ) 6 สิงหาคม 50 (INR 3.5) Rx : warfarin (3) 1 x1 hs Digoxin 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc 3 mo.
11
13 ตค. 50 : มา ER แล้ว admit (INR 4. 2)
13 ตค. 50 : มา ER แล้ว admit (INR 4.2) ด้วยอาการ จุกลิ้นปี่ แน่นหน้าอก ร้าวไหล่ขวา หายใจไม่อิ่ม : ไม่มี abnormal bleeding : ดื่มเหล้าครั้งคราว ไม่สูบบุหรี่ D/C : 15 ตค.50 : Digoxin (0.25) 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc E.KCl 30 cc x 3 pc ( 2 day) ** ไม่ได้รับยา warfarin กลับบ้าน ** F/U 1 wk
12
22 ตุลาคม 50. : ผป. มาตรวจตามนัด (INR 1. 08)
แพทย์ order warfarin (3) 1 x1 hs Digoxin (0.25) 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc Romilar 1 x3 pc
13
เกิดความผิดพลาดอะไรขึ้นบ้าง???? ADE
ME prescribing error (sentinel event) (ระดับ E)
14
Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 36 ปี น้ำหนัก 59 กก. Dx. Pulmonary TB (new case) 27 สิงหาคม 50 : INH (100) 3x hs RF(300) 2 x hs PZA (500) 3 x hs ETB (400) 3 x hs 7 กันยายน 50 : HRZE (size L) 2 wk.
15
8 กันยายน 2550 : มีอาการคัน และคลื่นไส้ อาเจียน
8 กันยายน 2550 : มีอาการคัน และคลื่นไส้ อาเจียน CPM 1x 3 pc , Dramamine 1 x prn q4-6 10 กันยายน 2550 : มาด้วยผื่น , จ้ำเลือด Off ยา TB Rx %TA ทาผื่น Pred (5) 2 x 2 pc Zyrtec 1 x 1 pc
16
14 กันยายน 50 :. Zyrtec 1 x 2 pc. Atarax 1 x prn q4 hr
14 กันยายน 50 : Zyrtec 1 x 2 pc Atarax 1 x prn q4 hr % TA cream ทาผื่น INH (rechallenge dose) ½ tab 1 tab 2 tab 3 tab 21 กันยายน 50 : ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน INH 3 x hs Rifampicin (rechallenge dose) 5 ml 10 ml 15 ml 20 ml
17
28 กันยายน 50 :. ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน
28 กันยายน 50 : ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน Rx : Zyrtec 1 x 2 pc Atarax 1 x prn q4 hr. INH 3 x hs Rifampicin (300) 2 x hs PZA (500) (rechallenge dose) ½ tab 1 tab 3 tab 12 ตุลาคม 50 : No side effect Zyrtec 1 x 2 pc INH 3 x hs Rifampicin (300) 2 x hs PZA (500) 3 x hs 30 วัน
18
Drug induce fever อาการไข้ที่มีสาเหตุจากยา
- พบว่า 6-18 % ของอาการไม่พึงประสงค์จากยาที่เกิดขึ้นจะมีอาการไข้ร่วมด้วย ซึ่งในจำนวนนี้มี 3.4 % ที่มีอาการไข้เพียงอย่างเดียว - สาเหตุที่สำคัญเกิดจากการเปลี่ยนแปลง set piont ที่ hypothalamus โดยเชื่อว่าสารก่อไข้ที่มาจากภายนอกกระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารภายในร่างกาย ซึ่งสารเหล่านี้จะไปมีผลต่อสารสื่อประสาทต่าง ๆ ที่ hypothalamus ทำให้มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิและเกิดอาการไข้ขึ้น
19
Drug induce fever
20
ลักษณะอาการทางคลินิก
อาการทางคลินิกที่พบของยาที่จะก่อให้เกิดอาการไข้ได้นั้น โดยส่วนใหญ่จะพบภายใน 7-10 วัน หลังจากได้รับยา อาจจะเริ่มต้นด้วยมีอาการไข้ต่ำ ๆ จากนั้นจะค่อยๆ สูงขึ้น และจะคงอยู่ตลอดเวลาที่ได้รับยา ไข้จะลดลงได้อย่างรวดเร็วหลังจากหยุดยา ( ปกติภายใน 48 ชั่วโมง ) แต่ถ้าได้รับยาซ้ำอาการไข้จะกลับมาอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง อาการไข้ที่เกิดขึ้นจะไม่มีรูปแบบของไข้ที่ชัดเจน อาจจะมีลักษณะไข้สูงสลับกับปกติได้ในระหว่างวันโดยสัมพันธ์กับขนาดยาหรือไม่สัมพันธ์กับขนาดยาก็ได้ ผู้ป่วยจะไม่มีค่าผลตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะต่ออาการไข้ ในบางรายอาจพบอาการปวดข้อ เป็นผื่น ลมพิษ ไม่สบายในท้อง และพบความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ( leukocytosis and eosinophilia ) ร่วมด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.