งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ

2 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 01 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 02 พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 03 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561

3 รัฐธรรมนูญฯ 2560 มาตรา 62 “รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลัง อย่างเคร่งครัดเพื่อให้ฐานะทางการเงินการคลังของรัฐ มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างยั่งยืนตามกฎหมายว่าด้วย วินัยการเงินการคลังของรัฐ.....” มาตรา 140 “การจ่ายเงินแผ่นดิน จะกระทำได้ เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเกี่ยวด้วย การโอนงบประมาณกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง หรือกฎหมาย ว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ.....”

4 พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 4 “บรรดาเงินที่พึงชำระให้แก่รัฐบาล ไม่ว่าจะเป็น ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ เงินกู้ หรือเงินอื่นใด หัวหน้าส่วนราชการที่ได้เก็บหรือรับเงินนั้น มีหน้าที่ควบคุมนำส่งเข้าบัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1 หรือสำนักงานคลังจังหวัด โดยไม่หักไว้เพื่อการใด ๆ เลย.....”

5 พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
มาตรา 4 “หน่วยงานของรัฐ หมายความว่า (1) ส่วนราชการ (2) รัฐวิสาหกิจ (3) หน่วยงานของรัฐสภา ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และองค์กรอัยการ (4) องค์การมหาชน (5) ทุนหมุนเวียนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล (6) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (7) หน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กฎหมายกำหนด”

6 พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
มาตรา 31 “รายได้ ได้แก่ รายได้แผ่นดิน และให้หมายความรวมถึงเงินที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่มีกฎหมายบัญญัติให้นำไปใช้จ่ายเพื่อการดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐได้ รายได้แผ่นดิน ได้แก่ เงินทั้งปวงที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บ หรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ และต้องนำส่งคลังตามมาตรา 34”

7 พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
มาตรา 34 “บรรดาเงินที่หน่วยงานของรัฐได้รับเป็นกรรมสิทธิ์ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ หรือได้รับชำระตามอำนาจหน้าที่หรือสัญญา หรือได้รับจากการให้ใช้ทรัพย์สินหรือเก็บดอกผล จากทรัพย์สินของราชการ ให้หน่วยงานของรัฐที่ได้รับเงินนั้น นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินเว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดเป็นอย่างอื่น”

8 เงินนอกงบประมาณ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
มาตรา 4 “เงินนอกงบประมาณ หมายความว่า บรรดาเงินทั้งปวง ที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บ หรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือ นิติเหตุ หรือกรณีอื่นใด ที่ต้องนำส่งคลัง แต่มีกฎหมายอนุญาตให้สามารถเก็บไว้ใช้จ่ายได้ โดยไม่ต้องนำส่งคลัง”

9 พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง
เงินนอกงบประมาณ การยกเว้นให้เก็บเงินนอกงบประมาณ ไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน • พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 • พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 • กฎหมายอื่น พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง กฎหมายอื่น

10 เงินนอกงบประมาณ ข้อยกเว้น พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มาตรา 4 วรรคสอง
รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดข้อบังคับอนุญาตให้.....หักรายจ่าย จากเงินที่จะต้องส่งเข้าบัญชีเงินคงคลัง.....ได้ในกรณี ดังนี้ 1. รายจ่ายที่ที่กฎหมายอนุญาตให้จ่ายได้ 2. รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามระเบียบที่ได้รับความตกลง จากกระทรวงการคลังเพื่อเป็นค่าสินบนรางวัลหรือค่าใช้จ่าย ในการจัดให้ได้มาซึ่งเงินอันพึงชำระให้แก่รัฐบาล 3. รายจ่ายที่ต้องจ่ายคืนให้แก่บุคคลใด ๆ เพราะเป็น เงินอันไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล

11 เงินนอกงบประมาณ ข้อยกเว้น พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ มาตรา 34 1. มีกฎหมาย (เฉพาะ) กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอนุญาต 2.1 เงินค่าชดใช้ความเสียหายเพื่อบูรณะทรัพย์สิน 2.2 เงินรายรับสถานพยาบาล สถานศึกษา หรือสถานอำนวยบริการ 2.3 เงินผลพลอยได้ที่ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ 2.4 เงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหุ้นในนิติบุคคล เพื่อนำไปซื้อหุ้นในนิติบุคคลอื่น 3. ตาม พ.ร.บ. วินัยฯ (มาตรา 34 วรรคสอง และวรรคสาม) หมายเหตุ !!! การจ่ายเงินตาม 2.2 และ 2.3 ต้องเป็นไปตามระเบียบที่ได้รับอนุมัติจาก รมว.คลัง และ ผอ.สำนักงบประมาณ

12 เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้จากการดำเนินงาน/สินบนรางวัล (จัดให้ได้มาซึ่งเงินอันพึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล) เงินที่มีกฎหมายกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เงินที่มีผู้มอบให้ หรือเงินบริจาค รวมถึงดอกผลต่าง ๆ เงินอันไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล เงินรายได้สถานศึกษา สถานพยาบาล สถานอำนวยบริการฯ เงินช่วยเหลือหรือความร่วมมือ จากต่างประเทศ เงินบูรณะทรัพย์สิน เงินนอกงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้

13 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

14 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. ....
1 ปรับปรุง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12 เดิม) ปรับปรุงระเบียบฯ ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. วินัยการเงิน การคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 2 ปรับปรุง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชี (ข้อ 13 เดิม) 3 เพิ่มเติม วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 4 ปรับปรุง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการรายงานการรับ - จ่ายเงิน (ข้อ 14 และ 15 เดิม)

15 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

16 เงินบำรุงของหน่วยบริการ
ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... 01 ได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์เนื่องจาก การดำเนินงานหรือเพื่อการดำเนินงาน ในกิจการของหน่วยบริการ 02 ไม่ใช่ เงินงบประมาณรายจ่าย หรือ เงินรายรับที่ได้รับหรือจัดเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ เงินบำรุงของหน่วยบริการ 03 เงินที่หน่วยบริการได้รับในลักษณะหนึ่งลักษณะใด ( ) 04 สำหรับ 2.13 เงินรายรับอื่น (สธ กำหนด โดยความเห็นชอบ จาก รมว.กค.)

17 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

18 การนำเงินฝากกระทรวงการคลัง
พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ มาตรา 61 “เงินนอกงบประมาณให้มีเท่าที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการ ปฏิบัติหน้าที่ หรือการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์..... เงินนอกงบประมาณของหน่วยงานของรัฐ ให้นำมาฝากไว้ ที่กระทรวงการคลัง เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น หรือได้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเป็นอย่างอื่น เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น เงินนอกงบประมาณนั้นเมื่อได้ใช้จ่ายในการปฏิบัติหน้าที่หรือการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ จนบรรลุวัตถุประสงค์แห่งการนั้นแล้ว มีเงินคงเหลือให้นำส่งคลัง โดยมิชักช้า.....”

19 การนำเงินฝากกระทรวงการคลัง
ข้อบังคับว่าด้วยการฝากและถอนคืนเงินต่อกระทรวงการคลัง พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม “ข้อ 2 เงินอันพึงฝากกระทรวงการคลังได้ต้องไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ คือ ก. เงินงบประมาณ ข. เงินขององค์การที่มีบัญชีเงินทุนหมุนเวียน ค. เงินรายรับของรัฐ เว้นแต่จะได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง ให้ฝากได้เป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย”

20 กรมบัญชีกลาง (คลังจังหวัด)
การนำเงินฝากกระทรวงการคลัง ส่วนราชการ หน่วยงานขอเปิด/ปิด/เปลี่ยนแปลง บัญชีเงินฝากคลังผ่านต้นสังกัด ตาม ว 89 ลว 22 ก.พ. 48 ส่วนราชการ กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลาง เปิด/ปิด/เปลี่ยนแปลง บัญชีเงินฝากคลังตามข้อบังคับ ว่าด้วยการฝากและถอนคืนเงินฯ บัญชีเงินฝากคลัง สนง.คลังจังหวัด สำรวจบัญชีเงินฝากคลัง ที่หมดความจำเป็น/ ไม่มีการเคลื่อนไหว ส่วนราชการ นำเงินฝากบัญชีเงินฝากคลัง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการรับและจ่ายเงินให้ถือปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง กรมบัญชีกลาง (คลังจังหวัด) ส่วนราชการ

21 การนำเงินฝากกระทรวงการคลัง
ประเภทเงินฝากกระทรวงการคลัง เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (0100) เงินบริจาคหรือเงินอุดหนุน (0200) เงินรายรับสถานศึกษา (0300) เงินรายรับสถานพยาบาล (0400) เงินบูรณะทรัพย์สิน (0500) เงินค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น (0600) เงินรายได้จากการดำเนินงาน (0700) เงินประกันสัญญาฯ (0800) เงินดอกเบี้ยกลางศาลฯ (0900) เงินกู้ (1000) เงินท้องถิ่น (1100) เงินผลพลอยได้ (1200) เงินเพื่อประโยชน์การศึกษา (1300) เงินรับฝาก (1400) เงินสินบนรางวัล (1500) เงินฝากต่าง ๆ (1700) เงินฝากเพื่อรอจัดสรร/ถอนคืน (1800)

22 การนำเงินฝากธนาคาร (สธ)
กค 0506/40501 ลว 26 ก.ย กระทรวงการคลังอนุมัติ ดังนี้ 01 1. ให้ รพ. แต่ละระดับ เก็บเงินบำรุงเป็นเงินสดไว้สำรองจ่ายได้ ภายในวงเงิน 500,000 บาท 2. ให้ รพ. ฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจเพื่อฝากเงินบำรุง (รพช. วงเงิน 2 ล้านบาท / รพท. 3 ล้านบาท / รพศ. 5 ล้านบาท) 3. ให้ รพ. นำเงินบำรุงนอกเหนือ ร้อยละ 25 ฝากธนาคารรัฐวิสาหกิจเพื่อหาดอกผล ส่วนที่เหลือให้ฝากคลัง กค /ว107 ลว 27 ก.ย กระทรวงการคลังอนุมัติ ดังนี้ 02 1. ให้ลดเพดานจากที่ กค อนุมัติไว้ ร้อยละ 50 2. เงินบริจาค เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และเงินคำประกันสัญญาต่าง ๆ ให้นำกลับมาฝากคลังทั้งจำนวน 3. เงินรายรับตามระเบียบเฉพาะ ให้นำร้อยละ 50 ของยอดเงินฝากธนาคารเข้าฝากคลัง และให้นำร้อยละ 50 ของรายรับคราวต่อ ๆ ไป เข้าฝากคลัง 03 สธ /25694 ลว 15 ก.ย กระทรวงสาธารณสุขขออนุมัติขยายวงเงินสำรอง ดังนี้ 1. รพช. (F3) วงเงิน 2 ล้านบาท เป็น วงเงิน 2 ล้านบาท 2. รพช. (F2) วงเงิน 2 ล้านบาท เป็น วงเงิน 4 ล้านบาท 3. รพช. (F1) วงเงิน 2 ล้านบาท เป็น วงเงิน 6 ล้านบาท 4. รพช. (M2) วงเงิน 2 ล้านบาท เป็น วงเงิน 8 ล้านบาท 5. รพท. (M1) วงเงิน 3 ล้านบาท เป็น วงเงิน 10 ล้านบาท 6. รพท. (S) วงเงิน 3 ล้านบาท เป็น วงเงิน 20 ล้านบาท 7. รพศ. (A) วงเงิน 5 ล้านบาท เป็น วงเงิน 30 ล้านบาท 8. รพศ. (A) วงเงิน 5 ล้านบาท เป็น วงเงิน 40 ล้านบาท

23 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

24 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. ....
01 - เพื่อการปฏิบัติราชการของหน่วยบริการ - เพื่อดำเนินการด้านการส่งเสริมระบบบริการและคุ้มครองสุขภาพ 02 ปลัด สธ กำหนดข้อบังคับ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายเงินบำรุงได้ตาม 9 (1) - (12) รายการค่าใช้จ่าย รายการห้ามจ่าย 03 ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินตอบแทนพิเศษ ตามข้อ 9 วรรคสาม (2) (4) (5) และ (7) ต้องได้รับความเห็นชอบจาก กค ก่อน 04 ห้ามจ่าย รายการบำเหน็จบำนาญ เดินทางไปราชการต่างประเทศ และสิ่งก่อสร้าง เกินกว่า 30 ล้านบาท

25 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

26 01 02 03 ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B C
สาระสำคัญ ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... การรับเงิน การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การรายงาน ควบคุม ตรวจสอบ A - คำนิยาม “เงินบำรุง” (ข้อ 4) - การเก็บรักษาเงิน (ข้อ 5) - การรับเงิน (ข้อ 6 และ 7) B - รายการค่าใช้จ่าย (ข้อ 8) - ค่าจ้างและค่าตอบแทน (ข้อ 9) - รายการห้ามจ่าย (ข้อ 10) - การจัดซื้อจัดจ้างและการพัสดุ (ข้อ 12) C - การบัญชี (ข้อ 13) - การตรวจสอบ (ข้อ 14) - การรายงาน (ข้อ 15)

27 การบัญชี การตรวจสอบ การรายงาน
พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 68 “ให้กระทรวงการคลังกำหนดมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และนโยบายการบัญชีภาครัฐ.....” มาตรา 69 “ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีผู้ทำบัญชีตามหลักเกณฑ์และคุณสมบัติที่กระทรวงการคลังกำหนด.....” มาตรา 70 “ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำรายงานการเงินประจำปีงบประมาณ.....ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด.....” มาตรา 79 “ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด”

28 แก้ไข การบัญชี ข้อ 13 เดิม เพิ่มเติม การตรวจสอบ ข้อ 14 ใหม่
การบัญชี การตรวจสอบ การรายงาน แก้ไข การบัญชี ข้อ 13 เดิม ร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. .... A B ระเบียบฯ เดิม ระเบียบฯ ใหม่ เพิ่มเติม การตรวจสอบ ข้อ 14 ใหม่ - จัดทำรายงานรับจ่ายเงินบำรุงประจำเดือนมีนาคม และกันยายน - จัดทำรายงานงานการรับ-จ่ายเงิน และเงินคงเหลือ ตาม รธน.50 มาตรา 170 - จัดทำรายงานรับจ่ายเงินบำรุงประจำเดือนมีนาคม และกันยายน - จัดทำรายงานงานการรับ-จ่ายเงิน และเงินคงเหลือ ตาม รธน.50 มาตรา 170 พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 แก้ไข การรายงาน ข้อ 14 เดิม เป็น ข้อ 15 ใหม่ ยกเลิก ข้อ 15 เดิม

29 การบัญชี การตรวจสอบ การรายงาน

30 สำรวจเงินรายได้ฯ จากทะเบียนคุม
การบัญชี การตรวจสอบ การรายงาน ขั้นตอนการจัดทำรายงานฯ (ตามร่างระเบียบ สธ ว่าด้วยเงินบำรุงฯ พ.ศ. ....) STEP 01 สำรวจเงินรายได้ฯ จากทะเบียนคุม STEP 02 จัดทำรายงานฯ จำแนกตาม ประเภทรายได้ฯ หน่วยงานของรัฐ (ส่วนกลาง) STEP 03 STEP 04 STEP 05 หน่วยงานของรัฐ (ภูมิภาค) รวบรวมและจัดทำรายงานฯ ภาพรวมหน่วยงาน จัดส่งรายงานฯ ให้ บก ภายใน 60 วัน จัดส่งรายงานฯ ให้ส่วนกลาง

31 เงินนอกงบประมาณ พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 62
“ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่ไม่ใช่รัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ หรือมีเงินนอกงบประมาณมากเกินสมควรให้กระทรวงการคลัง เรียกให้หน่วยงานของรัฐนำเงินดังกล่าวส่งคลัง.....”

32 เงินนอกงบประมาณ ประเด็นคำถาม (เพิ่มเติม)
- เงินเรี่ยไร และเงินบริจาค แตกต่างกันอย่างไร และต้องถือปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับใด อย่างไร - วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการนำเงินฝากกระทรวงการคลัง - เงินที่ไม่ทราบแหล่งที่มา - รายได้จากการดำเนินการให้เอกชนใช้พื้นที่ในโรงพยาบาล - ว10 กับระเบียบเงินบริจาค สธ แตกต่างกันอย่างไร และต้องถือปฏิบัติตามระเบียบใด

33 ขอบคุณครับ โทร. 0 2127 7250 นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ
นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ กลุ่มงานด้านเงินรายได้แผ่นดิน กองกฎหมาย โทร


ดาวน์โหลด ppt เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google