ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
25 มกราคม 2562
2
เกณฑ์การประเมิน : ศูนย์อนามัยที่ 1-12 รอบที่ 1 : 5 เดือนแรก
(ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2562) ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 1 Assessment : มีระบบบริหารจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ปัญหา 1.1 วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหาการดำเนินงานเพื่อลดการตายมารดาไทย กำหนดประเด็นการดำเนินงานหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงคุณภาพ ประสิทธิภาพ ที่สามารถระบุถึงปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยเสริมที่ทำให้บรรลุเป้าหมาย พร้อมทั้งนำผลการวิเคราะห์มาพิจารณาในการออกแบบกระบวนการทำงาน (0.50 คะแนน) 1.2 มีระบบการจัดเก็บและติดตามข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ (0.10 คะแนน) 1.3 มีการประเมินผลมาตรการและวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุงมาตรการทุก 3 เดือน (0.30 คะแนน) 1.4 มีแผนปฏิบัติการ/แนวทางปฏิบัติ (Action plan) ที่สอดคล้องกับปัญหาที่วิเคราะห์ข้างต้นได้ (0.10 คะแนน) - ข้อมูลและสถานการณ์การดำเนินงานแม่ตาย (Baseline data) อย่างน้อยย้อนหลัง 3 ปีและข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบ - มีบทวิเคราะห์ Gap และผลกระทบความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในเชิงรุก - แสดงไฟล์ภาพข้อมูลบนระบบเว็บไซต์ของหน่วยงานและเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ากับระบบ DOH Dashboard - มีผลการวิเคราะห์/ทบทวนมาตรการทุก 3 เดือน - แผนการดำเนินงาน ที่สอดคล้องกับปัญหาที่วิเคราะห์ข้างต้นได้ เพื่อลดการตายมารดา 2 Advocacy & Intervention : มีข้อเสนอเชิงนโยบายและมาตรการที่มีประสิทธิภาพรองรับการแก้ปัญหา 2.1 มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการลดการตายมารดา ระดับประเทศ (0.20 คะแนน) 2.2 มีมาตรการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ (0.50 คะแนน) 2.3 มาตรการมีความสอดคล้องกับบทบาทใหม่(Region Lead) (0.15 คะแนน) 2.4 มี Key Message และเนื้อหาสร้าง HLปชช. (0.15 คะแนน) - มีข้อเสนอเชิงนโยบาย /มาตรการ ในการลดการตายมารดา - มีการถอดบทเรียน Best Practice ในพื้นที่ - รายงานผลสำเร็จของการดำเนินงานตามมาตรการ - Flow chart ที่แสดงให้เห็นถึงบทบาทใหม่ในการดำเนินงาน - ความสอดคล้องของมาตรการและบทบาทศูนย์อนามัย - มี Key Message และเนื้อหาสร้าง HL ปชช.ส่งศูนย์สื่อ
3
แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 3 Implementation : การขับเคลื่อนมาตรการ 3.1 นำข้อเสนอเชิงนโยบาย เข้าสู่เวทีกรรมการระดับกระทรวง/กรม ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานลงสู่พื้นที่ (0.20 คะแนน) 3.2 ขับเคลื่อนมาตรการ ลงสู่พื้นที่ กำกับ ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน (0.50 คะแนน) 3.3 มีการขับเคลื่อน HL ไปสู่ปชช. (0.15 คะแนน) 3.4 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ รวมถึงใช้ในการติดตาม ควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของการทำงานอย่างมีคุณภาพ (0.15 คะแนน) 1 - มีหลักฐาน ที่แสดงถึงการนำเสนอเข้าสู่เวทีระดับต่างๆ เช่น หนังสือราชการ สรุปรายงาน - รายงานการขับเคลื่อนมาตรการ กำกับ ติดตาม สนับสนุนการประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก - รายงานการอบรมPNC - คู่มือ/สื่อ/เอกสารทางวิชาการ ความรู้ ข่าวสาร แนวทางฯ การประชุม/อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผ่านช่องทางต่างๆ - มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้เพื่อสร้างการรับรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ - One page สรุปสาระสำคัญที่แสดงถึงการขับเคลื่อน HL ไปสู่ประชาชน - แสดงให้เห็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เช่น แอพพลิเคชั่น/โซเชียลมีเดีย ฯลฯ 4 Output - ร้อยละ 45 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อน หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (0.30 คะแนน) - ร้อยละ 40 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ (0.40 คะแนน) - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 20 (0.30 คะแนน) 1. ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี 2. ผลลัพธ์ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ - ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกิน ร้อยละ 20 ค่าคะแนน .10 .15 .20 .50 .30 ผลลัพธ์ 25 30 35 40 45 ค่าคะแนน .05 .10 .20 .30 .40 ผลลัพธ์ 20 25 30 35 40 ค่าคะแนน .10 .15 .20 .25 .30 ผลลัพธ์ 24 23 22 21 20
4
แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน แนวทางการประเมิน/ หลักฐาน 5 Best Outcome อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 1 รายงานการตายมารดาระดับประเทศ ปี 2562 คะแนนรวม ศูนย์อนามัยที่ 12 MMR อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เขต 12 อัตราส่วนการตายมารดาไม่เกิน 38 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.