งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
แนวทางกำหนดปัญหา 1. การระบุปัญหาโดยใช้หลักของ 6 D ประกอบด้วย ตาย(Death) พิการ/การไร้ความสามารถ (Disability) โรค(Disease) ความไม่สุขสบาย (Discomfort) ความไม่พึงพอใจ (Dissatisfaction) และข้อบกพร่อง/ขาดแคลน (Defect) 2.การระบุปัญหาโดยใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือค่ามาตรฐานสากล ซึ่งเป็นค่าตังเลขที่แสดงถึงเป้าหมายว่าต้องการให้ชุมชนมีสุขภาพอยู่ในระดับใด 3.การระบุปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process) โดยให้ชุมชนหรือผู้นำชุมชน หรือประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วยตนเองว่าอะไรเป็นปัญหาของชุมชน

2 น้ำหนักของเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร น้ำหนักของเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ ความสำคัญ น้ำหนัก (W) ขนาดของปัญหา ความร้ายแรงเร่งด่วน แนวโน้มการแก้ไขปัญหา ความร่วมมือของชุมชน ผลกระทบในระยะยาว ** อ้างอิง WHO

3 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การให้คะแนนปัญหา (R) ให้คะแนนปัญหาแต่ละปัญหาในทุก ๆ หลักเกณฑ์หรือทุกตัวแปร ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูล และใช้วิจารณญาณว่าปัญหานั้น ๆ ในตัวแปรที่ไม่มีค่าสถิติสนับสนุน เช่น ความยากง่าย ความตระหนักของชุมชน เป็น ปัญหาใด สูงต่ำเพียงใด การให้คะแนนสูงต่ำตามเกณฑ์ ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุดหรือสำคัญที่สุด 4 หมายถึง มาก หรือสำคัญมาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด

4 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
1. ขนาดของปัญหา (size of problem) ประชากรที่ถูกกระทบจากปัญหา ถ้ามีประชากรที่ได้รับผลจากปัญหามากก็ควรได้การจัดลำดับความสำคัญสูงกว่าเพราะขนาดปัญหาใหญ่ คะแนนมาก ขนาดใหญ่ 0 –20% 21 – 40% 41 – 60% 61 – 80% 81 – 100% ขนาดเล็ก คะแนนน้อย

5 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
2. ความรุนแรงหรือความเร่งด่วนของปัญหา (severity of problem) หมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่มีความรุนแรงหรือเร่งด่วนที่จะต้องแก้ไข หากปล่อยไว้นาน อาจเกิดความพิการ หรือเสียชีวิตได้ เป็นต้น คะแนนมาก รุนแรงมาก ไม่สุขสบาย เจ็บป่วย เจ็บป่วยรุนแรง พิการ ตาย รุนแรงน้อย คะแนนน้อย

6 คะแนนมาก แก้ง่าย แก้ยาก คะแนนน้อย
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 3. ความเป็นไปได้ แนวโน้มในการปัญหา หรือความยากง่ายในการแก้ปัญหา (feasibility or ease) เช่น ข้อจำกัดทางวิชาการ ข้อจำกัดทางการบริหารจัดการ ข้อจำกัดด้านเวลา หรือจำนวนทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา ปัญหาที่ แก้ได้ง่ายหรือมีแนวโน้มในการแก้ปัญหาที่ดีควรได้จัดลำดับความสำคัญสูงกว่า คะแนนมาก แก้ง่าย ยากมาก ยาก ปานกลาง/ก่ำกึ่ง ง่าย ง่ายมาก แก้ยาก คะแนนน้อย

7 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
4. ความตระหนัก การยอมรับหรือความร่วมมือในการแก้ปัญหาของชุมชน (Community concern) ปัญหาที่ชุมชนตระหนักและให้ความร่วมมือดำเนินการแก้ไข ควรจะจัดลำดับความสำคัญสูงกว่า ร่วมมือมาก คะแนนมาก ร่วมน้อยที่สุด ร่วมน้อย ปานกลาง/ก่ำกึ่ง ร่วมมาก ร่วมมากที่สุด ร่วมมือน้อย คะแนนน้อย

8 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
5. ผลกระทบในระยะยาว (Impact) ปัญหาที่มีผลกระทบในระยะยาวมากกว่า ควรจะจัดลำดับ ความสำคัญสูงกว่า กระทบมาก คะแนนมาก น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง/ก่ำกึ่ง มาก มากที่สุด กระทบน้อย คะแนนน้อย

9 คะแนนนำที่มาจัดลำดับ
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การประเมินโดยตารางตัดสินใจ (Multi-variable decision) โดยมีตัวแปรต่าง ๆ ใช้ในการตัดสินใจ ได้แก่ คะแนน (R) น้ำหนัก (W) R คูณ W คะแนนนำที่มาจัดลำดับ

10 ปัญหาสุขภาพของประชาชนอำเภอเมืองสกลนคร ปี ๒๕๖๐
ใบงานที่ ๒ ปัญหาสุขภาพของประชาชนอำเภอเมืองสกลนคร ปี ๒๕๖๐ ปัญหา ขนาดปัญหา ความรุนแรง แนวโน้ว การยอมรับ ผลกระทบ คะแนน ลำดับ ที่ (W=?) R RW 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 จารย์เวิน

11 ผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้ตารางตัดสินใจ
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ปัญหา ขนาดปัญหา ความรุนแรง แนวโน้ว การยอมรับ ผลกระทบ คะแนน ลำดับ ที่ (W=4) (W=3) (W=5) (W=2) R RW 1 มะเร็ง 3 12 5 15 2 10 62 6 เตี้ย/ผอม/โง่ 8 4 44 อุบุติเหตุ 16 64 MCH 20 70 สารเคมี 56 9 NCDs 69 7 โรคระบาด 57 Green Clean Hos. 25 66 RDU 63 คบส. 11 ยาเสพติด 52 สุขภาพจิต 45 13 สุขภาพช่องปาก 43

12 ลำดับของปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ลำดับของปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

13 ข้อมูลสนับสนุน และตัวชี้วัดปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร
ข้อมูลสนับสนุน และตัวชี้วัดปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ลำดับ ปัญหา ข้อมูลสนับสนุน ตัวชี้วัดดำเนินการ 1 MCH อัตรามารดาตาย ปี , 59.5, 33.1 และ 31.0 อัตรามารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2 NCDs ผู้ป่วย DM ควบคุมโรคได้ ปี ร้อยละ 11.7 , 19.2 ผู้ป่วย DM มีผล HbA1C<7mg% ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 3 Green Clean Hos. รพ.ผ่านเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ของสถานบริการผ่านการ 4 อุบัติเหตุ อัตราผู้บาดเจ็บ ปี , 18.4, 26.1, 30.5 และ 17.2 อัตราผู้บาดเจ็บ ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน 5 RDU ร้อยละของ รพ.ที่เป็น RDU Hospital ตามเกณฑ์ขั้น 1 ร้อยละ 27.8 รพ.ที่เป็น RDU Hospital ตามเกณฑ์ขั้น 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6 มะเร็ง การลดเวลารอคอยการรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้ร้อยละ 75 ลดระยะเวลารอคอยได้มากกว่าร้อยละ 80 7 โรคระบาด อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง 2, ต่อประชากรแสนคน อัตราอุจจาระร่วง น้อยกว่า ต่อประชากรแสนคน 8 คบส. ผลการตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านมาตรฐาน (ศ.วิทย์เขต 8) ร้อยละ 85.2 ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านมาตรฐาน (ศ.วิทย์เขต 8) ร้อยละ 95 9 สารเคมี 10 ยาเสพติด ผู้ป่วยหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนร้อยละ ,ประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง? ผู้ป่วยหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน ร้อยละ 92 11 สุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 5.5 ต่อประชากรแสนคน อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.3 ต่อประชากรแสนคน 12 เตี้ย/ผอม/โง่ เด็กประถม เตี้ย ร้อยละ ผอม ร้อยละ 4.8 เด็กประถม เตี้ย น้อยกว่าร้อยละ 5 ผอม น้อยกว่า 10 13 สุขภาพช่องปาก อัตราใช้บริการสุขภาพช่องปากทุกสิทธิ์ปี 60 ร้อยละ 22.1 อัตราใช้บริการสุขภาพช่องปากทุกสิทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35

14 สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร


ดาวน์โหลด ppt สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google