ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCameron Blake ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ จังหวัดอุทัยธานี
2
Value chain ของ Product Champion ข้าว จังหวัดอุทัยธานี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนากระบวนการผลิตด้านการเกษตรให้มีคุณภาพและเพิ่มมูลค่า Value chain ของ Product Champion ข้าว จังหวัดอุทัยธานี 1 3 4 2 5 6 การวิจัย และพัฒนา(R&D) ปัจจัยพื้นฐานและพัฒนาการเกษตร การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบการตลาด ห่วงโซ่VC 1.1การนำผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตสินค้า (พันธุ์ข้าว)มาใช้ให้เกิดผล * ก่อนเพาะปลูก (Pre-sultivation) * ช่วงเพาะปลูก (Cultivation) 4.1มาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรอุตสาหกรรม (GMP/HACCP) 5.1การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า 6.1การพัฒนาตลาดกลางสินค้า 2.1การกระจายเมล็ดพันธุ์ที่ดีให้เกษตรกร 3.1การพัฒนามาตรฐาน/ระบบตรวจรับรองสินค้าการเกษตร 6.2ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะฤดู 4.2การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ(Quality mark) 1.2การวิเคราะห์สินค้า(ข้าว) และความต้องการของตลาด 5.2การบริหารจัดการคลังสินค้า 2.2การบริหารจัดการน้ำ 2.3การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) 3.2การเพิ่มผลิตต่อไร่ 6.3 พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) 4.3การอบรมและพัฒนาความรู้/เกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตข้าวจังหวัด ปัจจัยแห่งความสำเร็จCSF * การเก็บเกี่ยวและขั้นตอนหลังเก็บเกี่ยว (Harvest & Post) 2.4การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก 2.5การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 3.3การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัย VC = 6 CSF = 21 KPI = 34 Data = 53 4.4การควบคุมคุณภาพการบรรจุหีบห่อให้สามารถรักษาคุณภาพและยืดอายุข้าว 2.6การลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน 2.7การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
5
พื้นที่ปลูกข้าวนาปี จำแนกเป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2556/2557 (ไร่)
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี
6
ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่และพื้นที่ชลประทานจังหวัดอุทัยธานี
กก./ไร่ ผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศ 466 กก./ไร่ จากข้อมูลผลผลิตข้าวเฉลี่ยต่อไร่ จำแนกตามพื้นที่ชลประทานจังหวัดอุทัยธานี ในปีเพาะปลูก 2556/2557 พบว่า ทุกอำเภอของพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี มีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงกว่าผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศ และเมื่อพิจารณาข้อมูลการวางกลยุทธ์ของจังหวัดอุทัยธานี จะเห็นได้ว่ามีการวางระบบการพัฒนาภาคเกษตรกรรมและภาคผลิตรวมถึงการพัฒนาแหล่งน้ำ อย่างมีแบบแผนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในทุกพื้นที่ ส่งผลให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของจังหวัดสูงกว่าผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศในทุกพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ในเขตชลประทานหรือนอกเขตชลประทาน
7
ผลผลิตข้าวนาปีและความต้องการของตลาด พ.ศ. 2554-2556
ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี ,สำนักงานพาณิชย์จังหวัดอุทัยธานี หากพิจารณาผลผลิตข้าวนาปีและความต้องการของตลาดในปี พบว่า ผลผลิตข้าวที่ผลิตได้ตั้งแต่ ปี มีปริมาณที่สูงกว่าความต้องการของตลาดทุกปี ดังนั้นทิศทางการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนของจังหวัดควรจะนำส่วนต่างของผลผลิตที่ยังคงมีอยู่มาสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ความสำคัญกับกลยุทธ์การส่งเสริมระบบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ทั้งระบบชุมชนและระบบอุตสาหกรรม รวมถึงส่งเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง การตลาดสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นทิศทางการพัฒนาจังหวัดให้ตอบสนองต่อประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 2 ของการพัฒนาจังหวัดอุทัยธานี ว่าด้วยการพัฒนากระบวนการผลิตสินค้าทางการเกษตรให้มีคุณภาพและเพิ่มมูลค่าให้กับจังหวัดต่อไป
8
1. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 2
1. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 2. โครงการตรวจรับรองสินค้า/ คุณภาพสินค้า 3. โครงการมหกรรมสินค้าวิสาหกิจชุมชน วัตถุประสงค์ / เป้าหมาย เพื่อส่งเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง การตลาดสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ กิจกรรม จัดอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านต่างๆ ให้กับเกษตรกร ให้ความรู้เกษตรกร ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าข้าว เช่น สร้าง Brand สินค้าข้าว การออกบรรจุภัณฑ์ (packaging)
9
4. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสำหรับชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมระบบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรทั้งระบบชุมชนและระบบอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรม จัดอบรมการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าเกษตร เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.