งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
ส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนท้าย ต่อมไร้ท่อ 1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :- 1.1 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior lobe) GH (Growth Hormone)  กระตุ้นการเติบโตในวัยเด็ก  กระตุ้นน้ำตาล ในวัยผู้ใหญ่ Prolactin กระตุ้นการสร้างน้ำนมในหญิงใกล้คลอด, คลอดใหม่ๆ

2 ไข่ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
Gonadotropin  ฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์มี 2 ชนิด:- 1) FSH (Follicle stimulating Hormone) ไข่ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น  กระตุ้นการสร้าง สเปิร์ม 2) LH (Luteinizing Hormone)  กระตุ้น การเติบโตของสเปิร์ม การเติบโตของไข่  สุก การตกไข่ในวันที่ 14 ของรอบเดือน TSH (Thyroid Stimulating Hormone)  กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่ง Thyroxin

3 1.1.5 ACTH (Adrenocorticotrophic Hormone)
 กระตุ้น Adrenal cortex สร้างและกระตุ้นฮอร์โมน 1.2 ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (Intermediate lobe) สร้างฮอร์โมน MSH (Melanocyte Stimulating Hormone) ทำหน้าที่ :- 1. กระตุ้นการสร้าง Melanin ในเซลล์สีที่ผิวหนัง (Melanocyte) ทำให้สีตัวเข้ม 2. กระตุ้นให้ Melanin กระจายทั่วไซโทพลาซึมของเซลล์ Melanocyte ทำให้สีเข้ม  สัตว์เลือดเย็น สีจาง Melanin รวมกลุ่ม สีเข้ม กระจาย MSH 

4 1.3 ต่อมใต้สมองส่วนท้าย (Posterior lobe)
– ไม่ใช่เป็นแหล่งสร้างฮอร์โมนขึ้นมาเอง – เป็นแหล่งเก็บสะสมฮอร์โมนประสาท (Neurohormone) ที่สร้างจากกลุ่มเซลล์ Neurosecrotory cells in Hypothalamus ซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่เปลี่ยนมาสร้างฮอร์โมน – Neurohormone ที่เก็บสะสมมี 2 ชนิด :- 1. ADH (Antidiuretic hormone) หรือ Vasopressin

5 เพิ่มการดูด H2O กลับที่ Distal Convolute tubule และ Collecting duct  จึงเรียกชื่อเป็น ADH
หน้าที่ของ ADH ทำให้ Artery หดตัวแรงดันเลือดสูง  จึงเรียกชื่อเป็น Vasopressin 2. oxytocin กระตุ้นการเคลื่อนไหวของสเปิร์ม การคลอดโดยทำให้ Myometrium หดตัว กระตุ้น การหลั่งน้ำนม

6

7

8

9

10

11 2. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 2.1 ต่อมหมวกไตชั้นนอก (Adrenal cortex)
 สร้างจากฮอร์โมน 3 กลุ่ม :- Glucocorticoids  มีชนิดสำคัญที่สุดคือ Cortisol เพิ่มน้ำตาลในเลือด (สำคัญที่สุด) ก่อเกิดความเครียด (stress) Mlneralocorticoids  มีชนิดสำคัญที่สุดคือ Aldostreone  เพิ่มการดูด Na+ กลับ, เพิ่มการขับ K+, Cl– ทิ้งไปกับปัสสาวะ ถ้าขาด  เบาเค็ม สูญเสีย Na+ ไปกับปัสสาวะ ร่างกายซูบผอม มีรอยคล้ำ ดำ  Addison disease

12 2.1.3 Adrenal sex hormone ได้แก่ – Testosterone – Estrogen
มีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ 2.2 ต่อมหมวกไตชั้นใน (Adrenal medulla) – สร้างฮอร์โมนประสาท (neurohormone) Adrenalin (Epinephrine) * มี 70% Noradrenalin (Norepinephrine) * มี 10% - เพิ่มน้ำตาลในเลือด - เพิ่มการเต้นของหัวใจ - เพิ่มแรงดันเดือด – เป็นฮอร์โมนที่หลั่งออกมามากในภาวะฉุกเฉิน (Emergency hormone)

13 3. Thyroid gland (ต่อมไทรอยด์) สร้างฮอร์โมนสำคัญ 2 ชนิด 3.1 Thyroxin
 กระตุ้นการเติบโตของร่างกายและสมองในวัยเด็ก  ถ้าขาดในวัยเด็ก  Cretinism  เพิ่มน้ำตาลในเลือดและกระตุ้น Metabolism เช่นการเผาผลาญอาหารในวัยผู้ใหญ่  กระตุ้น Metamorphosis ของลูกอ๊อด  กบ 3.2 Calcitonin  ลดระดับ Ca2+ & PO43– ในเลือด 4. Parathyroid gland (ต่อมพาราไทรอยด์)  สร้างฮอร์โมน Parathormone ไปเพิ่มระดับ Ca2+ & PO43– ในเลือด

14

15

16 5. Islets of Langerhans in Pancreas (ตับอ่อน)
 มี  250,000 – 2,500,000 ต่อม  ต่อมไร้ท่อที่มี ขนาดเล็กสุด จำนวนต่อมมากสุด  ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด :- เซลล์ขนาดเล็ก 5.1 -cells มีปริมาณมาก สร้าง Insulin ลดน้ำตาลในเลือด กระตุ้นให้เยื่อหุ้มเซลล์ยินยอมให้กลูโคสเข้าเซลล์ได้สะดวก (เพิ่ม Permeability ของ Cell membrane) กระตุ้นให้เซลล์สลายกลูโคส  ATP กระตุ้นให้เซลล์นำกลูโคสที่เหลือมาสร้างเป็น Glycogenสะสมในตับและกล้ามเนื้อ

17 ปริมาณ Glucose (mg/100 cm3 blood)
 นอกจากนี้ Insulin ยังกระตุ้นการสร้างสารโมเลกุลใหญ่ เช่น Protein จากกรดอะมิโน Lipid จากกรดไขมัน  จึงจัด Insulin เป็น Anabolic hormone เซลล์ขนาดใหญ่ 5.2 -cells มีปริมาณน้อย สร้างฮอร์โมน Glucagon ไปเพิ่มปริมาณกลูโคสในเลือดโดยกระตุ้นการสลาย Glycogen จากตับ  Glucose ในเลือด ปริมาณ Glucose (mg/100 cm3 blood) 150- เบาหวาน (ขาด Insulin) คนปกติหลังกินอาหาร 100- คนปกติ hrs 1 2 3 4

18 6. Pineal gland  สร้างฮอร์โมน Melatonin  ยับยั้งการสร้าง Melanin
สีตัวจาง Melanin รวมตัว สีตัวเข้ม กระจาย MSH  Melanin  กระตุ้นการหลั่ง GH  หลั่งออกมามากเมื่อมีความมืด ยับยั้งการเติบโตทางเพศ โดยยับยั้งการเติบโตของรังไข่

19 7. Thymus gland  สร้างฮอร์โมน Thymocin ไปกระตุ้นการสร้างและ การเติบโตของเม็ดเลือดขาว T-lymphyocyte เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน 8. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ 8.1 Interstitial cells of Leydig ใน Testes  สร้าง Testosterone 8.2 Graafian follicle ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Estrogen ควบคุม II Sex characters กระตุ้นการหนาตัวของ endometrium กระตุ้นการหลั่ง LH

20 8.3 Corpus luteum ในรังไข่ สร้างฮอร์โมน Progesterone
ควบคุมการตั้งครรภ์ กระตุ้นการหนาตัวของ endometrium ยับยั้งการหลั่ง FSH และ LH มีให้กระตุ้นการสร้างไข่ 8.4 รก (Placenta) สร้างฮอร์โมน :- 1. HCG (Human Chorionic Gonadotropin)  กระตุ้นให้ Corpus lutium สร้าง Progesterone จนอายุครรภ์ได้ 4 – 5 เดือน  หลั่งหลังตั้งครรภ์ 70 วัน  ปล่อยมากับปัสสาวะ  จึงใช้ตรวจการตั้งครรภ์ 2. Progesterone  จะควบคุมการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 4 – 5 เดือน  คลอด

21


ดาวน์โหลด ppt 1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google