ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWładysław Kania ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
2
ร้อยละการตั้งครรภ์ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป (พ.ศ.2554-2558)
ข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2558
3
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในแม่อายุ 35 ปีขึ้นไป
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์ การแท้งบุตร ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ครรภ์เป็นพิษ เป็นต้น) ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (การตั้งครรภ์นอกมดลูก ครรภ์แฝด) การคลอดก่อนกำหนด เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ความเครียดและวิตกกังวล
4
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในแม่อายุ 35 ปีขึ้นไป
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์ ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low brith weight) ความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก - Down’s syndrome - Edward’s syndrome - Patau’s syndrome ทารกเสียชีวิตขณะอยู่ในครรภ์มารดา
5
ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการกำหนดมาตรการทางสังคมเพื่อขับเคลื่อน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย พัฒนากระบวนการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง - การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ - การส่งเสริมและดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ - การส่งเสริมสุขภาพแม่และลูกหลังคลอด
6
ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป
ผลักดันให้การตรวจสุขภาพของคู่หญิงชายก่อนแต่งงาน/มีบุตร/ การรักษาภาวะมีบุตรยาก บรรจุอยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ สร้าง Health Literacy ในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์อายุ35ปีขึ้นไป -หญิงตั้งครรภ์ -ครอบครัว/ผู้ดูแล -ชุมชน พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์อายุ 35 ปีขึ้นไป -เจ้าหน้าที่สาธารณสุข -อสม. -สนับสนุนงานวิจัยด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
7
ขอบคุณคะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.