ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
ศูนย์กลางบริเวณ เมืองอันยาง มณฑลโฮนาน(เหอหนาน)
2
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
- ราชวงศ์ชาง(Shang dynasty) หรือ ราชวงศ์ยิน(Yin Dynasty) - ประมาณ ปี ก่อนคริสตกาล (มีอายุประมาณ ปี) - ถือเป็นราชวงศ์แรกของจีน(เป็นราชวงศ์โบราณที่สุดของจีนที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์) - ศูนย์กลางบริเวณ เมืองอันยาง มณฑลโฮนาน(เหอหนาน) - เริ่มมีการตั้งชุมชน และมีการปกครองแบบนครรัฐ - มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้เป็นครั้งแรก พบจารึกบนกระดองเต่า และกระดูกวัว (อักษรภาพ 5,000 ตัวเขียนบนกระดองเต่า)เรื่องที่จารึกส่วนใหญ่เป็นการทำนายโชคชะตาจึงเรียกว่า “กระดูกเสี่ยงทาย” (คือจุดเริ่มต้นของตัวอักษรจีนในปัจจุบัน) - วัฒนธรรมทองสัมฤทธิ์ เริ่มมีการใช้ภาชนะสำริดอย่างแพร่หลาย เช่น เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยสำริด - มีความเชื่อเรื่องการบูชาบรรพบุรุษ และ มีการประกอบพิธีบูชาบรรพบุรุษ - เทพเจ้าที่สำคัญคือเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ มีการเซ่นไหว้เทพเจ้า - มีการทำปฏิทินบอกฤดูกาลต่างๆซึ่งมีความสำคัญต่อการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยวพืชผล
3
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
- ประมาณ ปี ก่อน ค.ศ. - มีอายุประมาณ ปี - ถือเป็นราชวงศ์แรกของจีน - เป็นราชวงศ์โบราณที่สุดของจีนที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ - วงการประวัติศาสตร์ของจีนมักจะเห็นว่าราชวงศ์เซี่ย(Xia)เป็นราชวงศ์ที่ โบราณที่สุดของจีน แต่ข้อมูลเกี่ยวกับราชวงศ์เซี่ยส่วนใหญ่เป็นบันทึกในหนังสือยุคหลังทั้งสิ้น จนถึงปัจจุบันก็ยังค้นไม่พบพยานหลักฐานที่น่าเชื่อถือทางโบราณคดี ส่วนราชวงศ์แรกที่มีพยานหลักฐานที่เชื่อถือได้และได้จากการค้นพบทางโบราณคดีของจีนก็คือราชวงศ์ชาง
4
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
วัฒนธรรมทองสัมฤทธิ์ เริ่มมีการใช้ภาชนะสำริดอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะประเภท เช่น เครื่องใช้ต่างๆ ด้วยสำริด เช่น ภาชนะบรรจุสุราที่สวยงามรูปแบบต่างๆ มีดวงพระจันทร์ กลองสำริด ซึ่งมีการขุดค้นพบเป็นหลักฐานกันมาก
5
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
โดยเทคนิคการถลุงเครื่องทองสัมฤทธิ์ของราชวงศ์ซังได้พัฒนาถึงระดับสูง พอสมควรแล้ว เครื่องทองสัมฤทธิ์ที่ค้นพบบริเวณเมืองยินเก่ามีจำนวนหลายพันชิ้น มีรูปแบบสง่างาม เป็นผลงานยอดเยี่ยมของวัฒนธรรมเครื่องทองสัมฤทธิ์ในสมัยโบราณ ของจีน
6
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
- มีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้เป็นครั้งแรก พบจารึกบนกระดองเต่า และกระดูกวัว (อักษรภาพ 5,000 ตัวเขียนบนกระดองเต่า)เรื่องที่จารึกส่วนใหญ่เป็นการทำนายโชคชะตาจึงเรียกว่า “กระดูกเสี่ยงทาย” (Oracle bones) - การประดิษฐ์ตัวอักษรแบบรูปภาพบนกระดูกสัตว์และบนกระดองเต่าซึ่งเรียกว่ากระดูกมังกรหรือกระดูกเสี่ยงทาย หรือ กระดูกทำนายตัวอักษรเหล่านี้ คือ ถือจุดเริ่มต้นของตัวอักษรจีนในปัจจุบัน
7
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
การค้นพบตัวอักษรโบราณบนกระดองเต่าหรือกระดูกสัตว์นั้นเกิดขึ้นด้วยความบังเอิญมาก เมื่อต้นศตวรรษที่ 20 ชาวหมู่บ้านเสี่ยวถุนทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองอันหยางมณฑลเหอหนานเอากระดองเต่าและกระดูกสัตว์ที่เก็บได้มาขายเป็นยาแผนโบราณจีน มีนักวิชาการได้พบเห็นโดยบังเอิญ จึงรู้ว่าบนกระดองและกระดูกเหล่านี้สลักตัวอักษรโบราณไว้ และใช้ความพยายามค้นหา ไม่นานนัก นักวิชาการด้านตัวอักษรโบราณของจีนก็ได้ข้อสรุปอย่างแน่นอนว่า ตัวอักษรเหล่านี้เป็นตัวอักษรของราชวงศ์ชาง และก็ได้ลงความเห็นว่าหมู่บ้านเสี่ยวถุนก็คือที่ตั้งของกรุงยิน(Yin)เมืองหลวงเก่าของราชวงศ์ชาง
8
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
การค้นพบและขุดค้นที่กรุงยิน(Yin)นั้นเป็นการค้นพบทางโบราณคดีที่สำคัญที่สุดในศตวรรษที่ 20 ของจีน ในด้านประวัติศาสตร์ชาติจีน Archaeological Site of Yin Xu Anyang
9
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
- ในเครื่องใช้ต่างๆ ที่ทำด้วยสำริด ยังมีการค้นพบการเขียนตัวอักษรด้านในของกระถางทำให้ได้ความรู้เกี่ยวกับสมัยนั้นมีการนับถือเทพเจ้าแห่งการเพาะปลูก เรียกว่า ชางตี้ - มีความเชื่อเรื่องการบูชาบรรพบุรุษ และ มีการประกอบพิธีบูชาบรรพบุรุษ - เทพเจ้าที่สำคัญคือเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ มีการเซ่นไหว้เทพเจ้า - มีการทำปฏิทินบอกฤดูกาลต่างๆซึ่งมีความสำคัญต่อการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยวพืชผล
10
ราชวงศ์ ชาง (Shang Dynasty) 1700-100 ก่อน ค.ศ.
ความเสื่อมราชวงศ์ซาง กษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์นี้เป็นผู้เหี้ยมโหด ขูดรีดเงินทองจากราษฎรอย่างหนักและลงโทษทัณฑ์แก่ผู้ต่อต้านนโยบายหรือสร้างความขัดเคืองใจด้วยการประหารชีวิต เหล่าขุนนางและกษัตริย์ไม่สนใจประชาชน จึงสร้างแรงกดดัน จนเผ่าโจว(Zhou)ซึ่งนำโดย ชื่อ จีฟา ได้รวมกำลังพลกับเผ่าอื่นที่ประสบความเดือดร้อนเพื่อโจมตี ราชวงศ์ซางจึงล่มสลายลงแล้วสถาปนาราชวงศ์โจวปกครองแผ่นดินแทนราชวงศ์ซาง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.