งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์: ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2579 Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี (ปลอดโรค ปลอดภัย) ระบบควบคุมโรคเข้มแข็ง ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย เจ้าหน้าที่มีความสุข องค์กรคุณธรรม ความสุขของคนทำงาน ระบบสุขภาพเข้มแข็ง เครือข่าย พัฒนาบุคลากร ระบบโครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure Policy and Interventions Manage, Facilitate and Co-ordinate PH Emergency Management Workforce ระยะที่ 1 : ปฏิรูประบบ (พ.ศ ) ระยะที่ 2 : สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ ) ระยะที่ 3 : สู่ความยั่งยืน (พ.ศ ) ระยะที่ 4 : เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย (พ.ศ )

2 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกรมควบคุมโรค ปี 2560 (1/2)
Prevention & Promotion Excellence ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (PA) 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (PA) ร้อยละ80 ของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) (PA) 4. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18/แสนปชก. (PA) 5. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ (PA) :DM ลดลงร้อยละ 5 (190,000 คน)/ HT ลดลงร้อยละ 2.5 (390,000 คน) (เดิมHT 536 คน/แสนปชก. DM 258 คน /แสนปชก.) 6. ร้อยละ 85 ของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก 7. ประมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปไม่เกิน 6.81 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 8. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไปไม่เกินร้อยละ 18 9. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 /แสนประชากร

3 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกรมควบคุมโรค ปี 2560 (2/2)
People Excellence Service Excellence หน่วยปฏิบัติการโรคติดต่อครบทุกอำเภอ 10. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVDs) (PA) 11. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา 12. ร้อยละ 50 ของรพ.ศูนย์, รพท. มีคลินิกจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 13. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) Governance Excellence 15. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 16. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบเฝ้าระวัง ระบบบริการ ระบบสนับสนุน 17. ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์

4 ขอบคุณครับ

5

6 เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย)
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคติดต่อสำคัญ โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. มาลาเรีย เฝ้าระวัง รักษา/ ควบคุมยุงพาหะ /ป้องกันตนเอง 882 อำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย Baseline : ปี 58 = 708 อำเภอ/เขต 2. ไข้เลือดออก กำจัดพาหะนำโรค- ลดการแพร่กระจายของโรค - ประสิทธิระบบการรักษา -ลดอัตราการป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 Baseline: ปี 58 /59 อัตราป่วย= /24.32 ต่อแสน 3. วัณโรค ค้นหาผู้ป่วยโดยเร็ว รักษาหายและครบ อุบัติการณ์วัณโรค ไม่เกิน 88 /แสน ปชก. Baseline: อุบัติการณ์วัณโรค ปี 57= 171 4. โรคพยาธิใบไม้ในตับ OV คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ค้นหาผู้ป่วยและรักษา - พัฒนาต้นแบบชุมชน/รร. ใน 190 ตำบลเป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบลเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี Baseline: ปี 59 = 84 ตำบล 5. เอดส์ การทำงานเชิงรุกเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ได้บริการป้องกันโรคและส่งต่อเพื่อคัดกรองและรักษาโรคตามมาตรการ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain) - ความชุกของ HIV ใน MSM ไม่เกินร้อยละ 6.8 -ความชุกของ HIV หญิงฝากครรภ์อายุ ปี ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 Baseline ปี57 MSM = 9.2%, ปี58 ANC (15-24ปี) = 0.42% 6.โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรคได้รับการฉีดวัคซีนตามแนวทางฯ ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า Baseline: พบผู้เสียชีวิตปี 58, ปี59 = 5 ราย , 11 ราย 7. โรคเรื้อน เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ : ไม่เกิน 100 ราย Baseline: ปี 57/58 = 208/187 ราย 8. โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40)

7 เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย)
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. CVD Risk ประเมิน CVD risk ผู้ป่วย DM HT -ร้อยละของผู้ป่วยDM HTที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อCVD ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 (Baseline: ปี 59 = ร้อยละ 77.89) 2. HT/DM ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยง และการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงระดับชุมชน -อัตราผู้ป่วย HT และ DM รายใหม่ลดลง HT=516 ราย ,DM=250 ราย (ต่อแสน) Baseline: ปี 59 HT=714 ราย ,DM=344 ราย (ต่อแสน) 3. ALC ควบคุมการเข้าถึง การโฆษณา สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม สนับสนุนการคัดกรองบำบัด/รักษา -ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกิน 6.54 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี Baseline: ปริมาณการบริโภค ปี 58= 6.95 L/คน/ปี 4. ยาสูบ สร้างความร่วมมือ สื่อสาร ป้องกัน เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง และการบังคับใช้กฎหมาย -ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 16 Baseline: ความชุกปี 58= ร้อยละ19.9 5. จมน้ำ ป้องกันควบคุมการจมน้ำของเด็กร่วมกับพื้นที่ ภาคีเครือข่าย “merit maker” -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 3.0 ต่อแสน Baseline: ปี 57/58 = 6.8/5.9 ต่อแสนเด็ก 6. โรคจากการประกอบอาชีพ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (Healthy workplace) คลินิกสุขภาพเกษตรกรครบวงจร - อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานไม่เกิน 5.25 ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย - อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่เกิน 12.5 ต่อแสนปชก Baseline ปี 59 = 8.9 ต่อ 1000 ราย และ 17.6 ต่อแสน ปชก 7. โรคจาก สิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการพื้นที่เสี่ยงสูง (Clinic Env – Occ) -อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในกลุ่มเด็กอายุ 0-14 ปี ไม่เกิน 0.17 ต่อแสน ปชก Base line ปี 58 = 0.29 /แสน ปชก 7

8

9 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านการป้องกันควบคุมโรค
โดย กรมควบคุมโรค วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559

10 ยุทธศาสตร์ 20 ปี ระบบป้องกันและควบคุมโรค Excellence in Disease Prevention and Control
Input - UN’s Sustainable Development Goals - IHR, GHSA และ Joint External Evaluation - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ - แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี ด้านสาธารณสุข - ภาพอนาคตของระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศไทย - แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศ ด้านควบคุมโรค กรอบแนวคิดการพัฒนาแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ 10

11 ผลการประเมินสมรรถนะด้านการควบคุมโรคตาม JEE
กฎหมาย P.1.1 P.1.2 ประสานงาน P.2.1 P.3.4 ป้องกัน P.3.3 P.7.1 P.7.2 เฝ้าระวัง P.3.1 P.3.2 P.4.1 D.2.1 D.2.2 D.2.3 D.2.4 D.3.1 D.3.2 ห้องปฏิบัติการฯ P.6.1 P.6.2 D.1.1 D.1.2 D.1.3 D.1.4 กำลังคน P.4.2 D.4.1 D.4.2 D.4.3 ระบบจัดการ P.4.3 P.5.1 R.1.1 R.1.2 R.2.1 R.2.2 ภาวะฉุกเฉิน R.2.3 R.2.4 R.3.1 R.4.1 R.4.2 R.5.1 ทางสาธารณสุข R.5.2 R.5.3 R.5.4 R.5.5 CE.1 CE.2 RE.1 RE.2 ช่องทางเข้าออก PoE 1 PoE 2

12 ประชาชนสุขภาพดี ปลอดโรค ปลอดภัย ด้วยระบบควบคุมโรคที่เข้มแข็ง
MOPH ธรรมาภิบาล Policy, Interventions and services PH Emergency Management Infrastructure Manage, Facilitate and Coordinate Workforce

13 แนวทางขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค กำหนดชุดเป้าหมายระยะยาว
จัดทำกรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework) ๒๐ ปี และทบทวนกรอบยุทธศาสตร์ทุก ๕ ปี และตามความจำเป็น จัดตั้งกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในระบบป้องกันควบคุมโรคให้เหมาะสมกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ ๕ ปี โดยอาศัย “กรอบยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี” เป็นแนวทางในการจัดทำแผนฯ ระยะที่ 1: ปฏิรูประบบ (พ.ศ ) ระยะที่ 2: สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ ) ระยะที่ 3: สู่ความยั่งยืน (พ.ศ ) ระยะที่ 4: ประชาชนสุขภาพดี (พ.ศ )

14 ตัวชี้วัดและเป้าหมายของการป้องกันควบคุมโรค ระยะ ๒๐ ปี
Prevention Excellence Service Excellence 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่ลดลงร้อยละ 60 10. ความชุกของ Primary MDR-TB ลดลงร้อยละ 50 2. อุบัติการณ์วัณโรคน้อยกว่า 10 ต่อประชากร 100,000 คน 11. ความชุกของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 25 12. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ 90 สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ 3. อัตราป่วยโรคมาลาเรียไม่เกิน elimination target 4. อัตราป่วยและการดำเนินงานของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นไปตามพันธสัญญานานาชาติ 13. ผู้ป่วยโรคเบาหวานร้อยละ 90 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 5. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงร้อยละ 25 People Excellence 6. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ลดลงร้อยละ 50 14. อัตราส่วนนักระบาดวิทยาต่อประชากร ไม่น้อยกว่า 1 คนต่อประชากร 200,000 คน 7. ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ลดลงร้อยละ 40 Governance Excellence 8. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ลดลงร้อยละ 80 15. ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมินด้านธรรมาภิบาล 9. อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในประชากรอายุ 0-14 ปีในพื้นที่เสี่ยงสูง ไม่เกิน 0.1 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน 16. ไม่พบผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นใน Generation ที่ 2

15 เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย)
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคติดต่อสำคัญ โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. มาลาเรีย เฝ้าระวัง รักษา/ ควบคุมยุงพาหะ /ป้องกันตนเอง 882 อำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย Baseline : ปี 58 = 708 อำเภอ/เขต 2. ไข้เลือดออก กำจัดพาหะนำโรค- ลดการแพร่กระจายของโรค - ประสิทธิระบบการรักษา -ลดอัตราการป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 Baseline: ปี 58 /59 อัตราป่วย= /24.32 ต่อแสน 3. วัณโรค ค้นหาผู้ป่วยโดยเร็ว รักษาหายและครบ อุบัติการณ์วัณโรค ไม่เกิน 88 /แสน ปชก. Baseline: อุบัติการณ์วัณโรค ปี 57= 171 4. โรคพยาธิใบไม้ในตับ OV คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ค้นหาผู้ป่วยและรักษา - พัฒนาต้นแบบชุมชน/รร. ใน 190 ตำบลเป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบลเป้าหมายดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี Baseline: ปี 59 = 84 ตำบล 5. เอดส์ การทำงานเชิงรุกเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ได้บริการป้องกันโรคและส่งต่อเพื่อคัดกรองและรักษาโรคตามมาตรการ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain) - ความชุกของ HIV ใน MSM ไม่เกินร้อยละ 6.8 -ความชุกของ HIV หญิงฝากครรภ์อายุ ปี ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 Baseline ปี57 MSM = 9.2%, ปี58 ANC (15-24ปี) = 0.42% 6.โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรคได้รับการฉีดวัคซีนตามแนวทางฯ ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า Baseline: พบผู้เสียชีวิตปี 58, ปี59 = 5 ราย , 11 ราย 7. โรคเรื้อน เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ : ไม่เกิน 100 ราย Baseline: ปี 57/58 = 208/187 ราย 8. โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40)

16 เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย)
เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. CVD Risk ประเมิน CVD risk ผู้ป่วย DM HT -ร้อยละของผู้ป่วยDM HTที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อCVD ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 (Baseline: ปี 59 = ร้อยละ 77.89) 2. HT/DM ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยง และการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงระดับชุมชน -อัตราผู้ป่วย HT และ DM รายใหม่ลดลง HT=516 ราย ,DM=250 ราย (ต่อแสน) Baseline: ปี 59 HT=714 ราย ,DM=344 ราย (ต่อแสน) 3. ALC ควบคุมการเข้าถึง การโฆษณา สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม สนับสนุนการคัดกรองบำบัด/รักษา -ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกิน 6.54 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี Baseline: ปริมาณการบริโภค ปี 58= 6.95 L/คน/ปี 4. ยาสูบ สร้างความร่วมมือ สื่อสาร ป้องกัน เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง และการบังคับใช้กฎหมาย -ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 16 Baseline: ความชุกปี 58= ร้อยละ19.9 5. จมน้ำ ป้องกันควบคุมการจมน้ำของเด็กร่วมกับพื้นที่ ภาคีเครือข่าย “merit maker” -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 3.0 ต่อแสน Baseline: ปี 57/58 = 6.8/5.9 ต่อแสนเด็ก 6. โรคจากการประกอบอาชีพ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (Healthy workplace) คลินิกสุขภาพเกษตรกรครบวงจร - อัตราการประสบอันตรายจากการทำงานไม่เกิน 5.25 ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย - อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่เกิน 12.5 ต่อแสนปชก Baseline ปี 59 = 8.9 ต่อ 1000 ราย และ 17.6 ต่อแสน ปชก 7. โรคจาก สิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการพื้นที่เสี่ยงสูง (Clinic Env – Occ) -อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในกลุ่มเด็กอายุ 0-14 ปี ไม่เกิน 0.17 ต่อแสน ปชก Base line ปี 58 = 0.29 /แสน ปชก 16

17 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกรมควบคุมโรค ปี 2560 (1/2)
Prevention & Promotion Excellence ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (PA) 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 (PA) ร้อยละ80 ของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) (PA) 4. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18/แสนปชก. (PA) 5. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่เกิน 536 คน/แสนปชก. และเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน 258 คน /แสนปชก. (PA) 6. ร้อยละ 85 ของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก 7. ประมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปไม่เกิน 6.81 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 8. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไปไม่เกินร้อยละ 18 9. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 /แสนประชากร

18 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกรมควบคุมโรค ปี 2560 (2/2)
People Excellence Service Excellence หน่วยปฏิบัติการโรคติดต่อครบทุกอำเภอ 10. ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVDs) 11. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา 12. ร้อยละ 50 ของรพ.ศูนย์, รพท. มีคลินิกจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 13. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) Governance Excellence 15. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 16. การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบเฝ้าระวัง ระบบบริการ ระบบสนับสนุน 17. ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ให้หน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์

19 กระบวนการ ทบทวนวิสัยทัศน์ & จัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค

20 กระบวนการทบทวนวิสัยทัศน์ และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ปัจจุบัน “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชน จากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563” ตั้งแต่ปี “ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2579” กระบวนการทบทวนวิสัยทัศน์ และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค ข้อเสนอแนะคณะกรรมาธิการ 60 เป้าหมาย & เวลา ชัดเจน มีความท้าทาย ได้รับฉันทามติบุคลากรองค์กร กระบวนการทบทวน 1 ธ.ค. 59 โดย คกก. บริหารนโยบายฯ กรม 2 ธ.ค. 59 โดย คกก. ผู้ทรงฯ 8 ธ.ค. 59 คทง. รองอธิบดี/กพร/กองแผนงาน เสนอท่านอธิบดี พิจารณาเห็นชอบ เริ่มใช้ในกระบวนการคำขอ งปม 61 กระบวนการจัดทำแผน 20 ปี กลไก คกก : อธิบดี ประธาน รองอธิบดี ประธานร่วม องค์ประชุมกรม คกก คทง : ผทว ที่ปรึกษา ผอ. สน.ระบาด ประธาน ผอ กองแผน ประธานร่วม ผอ & นวก คทง.

21 ความก้าวหน้า การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความก้าวหน้า การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค

22 Timeline ปฏิทิน งปม. 2561 ฉบับปรับปรุง มติ ครม. 29 พ.ย.59
11 ต.ค. 59 ครม. เห็นชอบ ปฏิทิน งปม. 61 21 ต.ค. 59 นายกมอบนโยบาย งบบูรณาการ 61 25 พ.ย. 59 สงป ชี้แจง จัดทำแผนแม่บท 20ปี 31 ส.ค. 60 สภานิติบัญญัติ พิจารณา (ร่าง) พรบ. 61 ในวาระ 2-3 now 23 พ.ค. 60 ครม.เห็นชอบ ร่าง พรบ งปม. 61 * 6 ธ.ค ส่งคำขอpre - ceiling 61 * 1 ก.พ. 60 ส่งรายละเอียดวงเงินและ คำของปม. 61 เสนอ รมว เห็นชอบ ส่ง สงป. 1 มิ.ย. 60 สภานิติบัญญัติพิจารณา (ร่าง) พรบ. 61 ในวาระ 1 7 ก.ย. 60 นำ (ร่าง) พรบ. 61 ขึ้นทูลเกล้าฯ 14 ธ.ค นายกมอบนโยบาย คำขอ 61 12 ต.ค. – 6 ธ.ค. 59 ส่วนราชการ ทบทวนเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 61 จัดทำข้อเสนอคำขอ 61 เบื้องต้น (pre ceiling) ทุกงบรายจ่าย - ลงทุน 25 ต.ค. 59 - ขั้นต่ำประจำ ค่ายา อุดหนุน วิจัย &รายจ่ายอื่น 10 พ.ย. 59 - งบดำเนินงานโครงการ (Function& ยุทธศาสตร์) พ.ย. 59 2 ธ.ค. 59 – 1 ก.พ. 60 ส่วนราชการ ปรับปรุง จัดทำรายละเอียดวงเงิน&คำขอ ให้สอดคล้องกับนโยบาย&กรอบ pre-ceiling 1 ก.พ. – 7 เม.ย. 60 สงป. พิจารณารายละเอียดคำขอ 61 ส่วนราชการจัดทำ&ชี้แจงรายละเอียด งปม. 17 มิ.ย. – 31 ส.ค. 59 ส่วนราชการชี้แจงข้อมูล รายละเอียด งบ 61 ต่อคณะกรรมาธิการรัฐสภา/อนุกรรมาธิการ * ส่วนราชการ key in ในระบบคำขอ เพื่อส่งกรอบวงเงิน (pre ceiling )และรายละเอียดคำขอ งปม.

23 กรอบการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
ข้อมูลประกอบการจัดทำงบประมาณ 2561 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน ระยะ 20 ปี (2560 – 79) ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560 – 64) แผนปฎิรูปภาครัฐ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายสำคัญของรัฐบาล จำแนกวงเงิน & รายละเอียดงบประมาณ เป็น 5 กลุ่ม 1. งบกลาง 2. งปม. รายจ่ายกระทรวง/หน่วยงาน (Function) 3. งปม. รายจ่ายบูรณาการ (Agenda) 4.งปม. รายจ่ายพื้นที่ (Area) 5.งปม. รายจ่ายบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ที่มา : สำนักงบประมาณ 29 พ.ย. 59

24 ที่มา : สำนักงบประมาณ 21 ต.ค. 59

25 ตัวอย่าง แบบฟอร์มความเชื่อมโยง
การจัดทำ แผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ/ กระทรวงสาธารณสุข 20 ปี ตัวอย่าง แบบฟอร์มความเชื่อมโยง

26 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
กับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาฯ#12 6 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 10 ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ #12 ยุทธศาสตร์กระทรวง 20 ปี 1. ยุทธศาสตร์ด้าน ความมั่นคง 3. ยุทธศาสตร์การ พัฒนาและ เสริมสร้าง ศักยภาพคน 5. ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5. การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ (Prevention & Promotion Excellence) 2.ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างความสามารถ ในการแข่งขัน 4. ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างโอกาสความ เสมอภาคและเท่า เทียมกันทางสังคม 3. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 9. การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศ (Service Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) 6. ยุทธศาสตร์ด้านการ ปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการ บริหารจัดการ ภาครัฐ 6. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)

27 ที่มา : สนย. 26 ต.ค. 59

28 เปรียบเทียบภาพรวมคำขอและจัดสรรงบประมาณ
ปี กรมควบคุมโรค ทุกงบรายจ่าย คำขอ Pre -ceiling 61 ณ วันที่ 6 ธ.ค.59

29 เปรียบเทียบประเภทงบประมาณ
ตาม พ.ร.บ. 59, 60 กับกรอบคำขอ Pre ceiling ปี 61 กรมควบคุมโรค หน่วย : ล้านบาท คำขอ Pre -ceiling 61 ณ วันที่ 6 ธ.ค.59

30 กรม คร. 11 แผนงาน 17 โครงการ 1 2 9 1 2 5 กระทรวง สธ.
คำขอ Pre -ceiling 61 ณ วันที่ 6 ธ.ค.59

31 กรม คร. 11 แผนงาน 17 โครงการ 1 2 9 1 2 5 กระทรวง สธ.
คำขอ Pre -ceiling 61 ณ วันที่ 23 พ.ย.59

32 กรม คร. 11 แผนงาน 17 โครงการ 1 2 9 1 2 5 งปม 6,270 ลบ. กระทรวง สธ.
ควบคุมโรคตามกลุ่มวัย พัฒนาระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรค CD ควบคุมโรค NCDและRTI ขยะและมลพิษ โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียติฯ SEZ EEC ปชก.ต่างด้าว องค์ความรู้ พัฒนางานวิจัย พัฒนากฎหมาย ปราบปรามทุจริต ศก. ดิจิทัล ค่าใช้จ่ายบุคลากร ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค งปม 6,270 ลบ. 3,661 ลบ. 142 ลบ. 44 ลบ. 2,422 ลบ. คำขอ Pre -ceiling 61 ณ วันที่ 6 ธ.ค. 59

33 จุดเน้นสำคัญ ปี 61 1 2 3 4 โครงการจุดเน้นตามภารกิจกรมฯ
โครงการตามแนวพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ 2 Agenda ตามแผนบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับประเทศ จำนวน 8 แผน แผนงานยุทธศาสตร์การควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (ATM/ควบคุมโรคในระดับภูมิภาคฯ) 3 4 โครงการจุดเน้นตามภารกิจกรมฯ พัฒนาระบบ EOC เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด ขับเคลื่อนการควบคุมโรคระดับพื้นทีโดย พรบ โรคติดต่อ ปี 58 พัฒนาและผลักดัน พรบ. En occ /NCD/ยาสูบ/ALC พัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมือง (TB/AIDS/DHF) ควบคุมโรค NCD และภัยสุขภาพ (RTI) ควบคุมปัจจัยเสี่ยง (เหล้า/บุหรี่) เฝ้าระวังสุขภาพจากมลพิษ สวล. ในพื้นที Hot Zone ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ Ziga/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ /สารเคมีเกษตรกร

34 8 แผนบูรณาการ ปี 61 ในส่วนที่กรมควบคุมโรคเกี่ยวข้อง ณ 6 ธ.ค.59
8 แผนบูรณาการ ปี 61 ในส่วนที่กรมควบคุมโรคเกี่ยวข้อง ณ 6 ธ.ค.59 แผนบูรณาการ กสธ. งปม. (ลบ) รองฯ อธิบดี หน่วยงานหลัก 1.พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 426.73 รองฯ อัษฎางค์ NCD ปฐมวัย (มือเท้าปาก/ไวรัสโรต้า/สำรวจวัคซีน) 25.52 CD วัยเรียน (หนอนพยาธิ/อาหารและน้ำ/จมน้ำ/วัคซีนในนักเรียน /ขับเคลื่อนHPV/NCD ใน รร.) 41.23 วัยรุ่น (พฤติกรรมยาสูบ/ALC/เพศสัมพันธ์) 20.89 ALC วัยทำงาน (NCD/RTI/En occ) 339.09 รองฯ (CIPO) วัยสูงอายุ 2. พัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (เวชศาสตร์/อชีวอนามัย/IHR/ดื้อยา/one health) 99.78 ผู้ทรงฯ สมบัติ 3.ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (33 เรื่อง) 22.73 รองฯ สุเทพ KM 4.บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (ขยะและมลพิษอากาศ) 19.16 En occ 5.ป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 5.77 รองฯ ภาณุมาศ กลุ่มคุ้มครอง 6.พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 90.65 IT 7. การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (ใหม่) (งบลงทุนขอผ่านเขตสุขภาพ จำนวน 3.4 ลบ งบดำเนินงานด่านฯ/มลพิษ 11 ลบ.) 11.00 EnOc/ สคร 6 8. การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ (เฝ้าระวังควบคุมโรคใน ปชก ต่างด้าว) 20.00 * ภาพรวม 8 แผนงาน 695.85 กองแผนงาน

35 การดำเนินงานต่อไป กิจกรรม เวลา การพิจารณางบประมาณ
สำนักงบประมาณพิจารณาและสรุปภาพรวมข้อเสนอคำของบ 61 เบื้องต้น (Pre ceiling) ทุกงบรายจ่าย (Function/ยุทธศาสตร์/บูรณาการ) กองแผนงานร่วมกับหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในแต่ละประเด็น ชี้แจงเหตุผลการเสนอขอ งปม. 6 ธ.ค ม.ค.60 2. การพิจารณารายละเอียดคำของบโครงการ หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในแต่ละประเด็น นำเสนอแผนงาน/โครงการ (กรอบแนวคิด กิจกรรมสำคัญ ค่าเป้าหมาย งบประมาณ ผลลัพธ์ของโครงการที่เป็นรูปธรรม) ให้อธิบดี รองอธิบดี ผู้ทรงฯ เสนอแนะ (wk 1-2 ม.ค. 60) หน่วยงานหลักปรับปรุงรายละเอียดโครงการ ให้สอดคล้องกับนโยบาย&กรอบ pre-ceiling ส่ง กองแผนงาน 20 ม.ค. 60 ม.ค. 60 3. กองแผนงานปรับปรุงและ Key in รายละเอียดคำขอให้สอดคล้องกับนโยบายและกรอบ pre-ceiling ในระบบ E-budgeting ของ สงป. ส่งกระทรวง และ สงป. 11 ม.ค. – ก.พ. 60 4. การชี้แจงรายละเอียดคำของบประมาณ 61 ในระดับกระทรวง & สงป. กองแผนงานประสาน สน./สบ./กอง/ สคร. ที่รับผิดชอบในแต่ละประเด็น จัดทำข้อมูล - เปรียบเทียบผลงาน กับแผนคำขอ 61 - รายละเอียดข้อมูลคำขอ งปม. & ร่วมชี้แจงระดับกระทรวงฯ และ สงป. - ปรับปรุง/ปรับลด รายละเอียดคำขอ งปม. ในแต่ละประเด็นให้สอดคล้องกับกรอบวงเงิน ตาม (ร่าง) พรบ. 61 1 ก.พ. 59 – เม.ย. 60

36 ขอบพระคุณ

37 การจำแนกกรอบเงิน/กรอบงาน กรมควบคุมโรค 2560 - 61
ร่าง ภาพรวม คำขอ 61 = 6,198 ลบ งปม 60 ได้รับ 3,981 ลบ. (คำขอ 6,869 ลบ) * ร่วมตั้งแต่ 2 หน่วยงาน & ผลลัพธ์ ปชช คำของบบูรชาติ 61 = 755 ลบ Agenda งานภารกิจหลักกรมฯ ระบบเฝ้าระวัง/R&D/HRD/ระบบสนับสนุนฯ บูรณาการระดับชาติ (60) กลุ่มวัย/SEZ/ดิจิทัล/ขยะ/มลพิษ/ปราบปราม ลบ. /5.3 % จุดเน้น/ยุทธศาสตร์กรมฯ (60) ATM/ด่าน/ชายแดน /RTI/CA/CCA/ โครงการพระราชดำริ/อำเภอ function 3, ลบ. / (60) คำขอ งบโครงการ ปี 2558 ประมาณ 1,600 ล้านบาท งานภารกิจหลักกรมฯ

38 ตัวอย่างแบบฟอร์มความเชื่อมโยง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แผนงาน ผลงานปี 57-58 แผนปฏิบัติการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 59-60 60-64 65-69 70-74 75-79 แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster) งาน Agenda 5.1 โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิและเครือข่ายระบบสุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) กรมวิชาการ มาตรการ/กิจกรรมหลัก P (Partnership) : I (Investment) : 1 .ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย R (Regulation & Law) : พัฒนามาตรฐาน MCH ผลักดันให้มีกฎหมาย A (Advocate) : สร้างความรู้ ความตระหนักและปรับ พฤติกรรมสุขภาพ B (Building Capacity) : 1. พัฒนาบุคลากร สนับสนุนอัตรากำลัง ค่าตอบแทน 2. สนับสนุนเครื่องมือ 3. พัฒนาระบบส่งต่อ ผลที่จะได้รับในแต่ละช่วงระยะเวลา ทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 48 ทีม ประชาชน1 ล้านครอบครัว ได้รับการดูแลจากทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 471 ทีม ผลิตแพทย์ได้ คน ประชาชน 32.5 ล้านครอบครัว ได้รับการดูแลจากทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 3,250 ทีม อบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวได้ 2,010 คน ประชาชน 65ล้านครอบครัว ได้รับการดูแลจากทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว6,500 ทีม อบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวได้ 6,403 คน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ (ล้านบาท)


ดาวน์โหลด ppt (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google