ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ทิวทัศน์ขึ้นชื่อ เลื่องลือคนงาม เขตคามโคนม ชื่นชมหัตถกรรม
2
คพสอ.สันกำแพง ยินดีต้อนรับ
คณะนิเทศงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 18 มกราคม 2561
3
แผนที่อำเภอสันกำแพง 4 3 1 2 5 7 6 9 10 8 ทิศเหนือ อ.ดอยสะเก็ด อ.แม่ออน
อ.เมือง 5 7 6 9 10 8 สัญลักษณ์ ที่ว่าการอำเภอ จ.ลำพูน อ.สารภี รพ.สันกำแพง 1. ตำบลสันกลาง ตำบลสันกำแพง 9. ตำบลแช่ช้าง 2. ตำบลต้นเปา ตำบลทรายมูล 10. ตำบลออนใต้ 3. ตำบลแม่ปูคา ตำบลร้องวัวแดง 4. ตำบลห้วยทราย 8.ตำบลบวกค้าง รวม 10 ตำบล หมู่บ้าน สสอ. รพ.สต. ถนน เส้นแบ่งเขตตำบล
4
ข้อมูลทั่วไป 10 ตำบล 100 หมู่บ้าน
ลักษณะประชากรในพื้นที่เป็นแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท ประชากร รวม 56,364 คน ปชก.UC 38,531 คน*HDC 8 ม.ค. 61ประชากรต่างด้าวประมาณ 26 คน *HDC 8 ม.ค. 61 โรงพยาบาลชุมชน ขนาด เตียง จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) จำนวน 11 แห่ง รพ.สต. ขนาดใหญ่ 3 แห่ง + รพ.สต. ขนาดกลาง 8 แห่ง อสม. 1,760 คน
5
ข้อมูลประชากรแยกรายตำบล
ชาย หญิง รวม สันกำแพง 3,973 4,892 8,865 ทรายมูล 1,511 1,722 3,233 ร้องวัวแดง 2,188 2,205 4,393 บวกค้าง 3,027 3,181 6,208 แช่ช้าง 3,226 3,318 6,544 ออนใต้ 2,301 2,335 4,636 แม่ปูคา 2,358 2,339 4,697 ห้วยทราย 2,406 2,546 4,952 ต้นเปา 3,825 4,628 8,453 สันกลาง 2,097 2,286 4,383 26,912 29,452 56,364
6
ปิรามิดประชากร ปี 2561 ชาย 26,912 หญิง 29,452 รวม 56,364
7
ลักษณะสำคัญทางสังคม เศรษฐกิจ
-ร้อยละ 80 อาชีพเกษตรกร ผลิตผลทางการเกษตรที่สำคัญ เช่น ข้าว ยาสูบ กระเทียม ถั่วลิสง อื่นๆ -อุตสาหกรรมในท้องถิ่นได้แก่ การทำร่ม การแกะสลัก การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องปั้นดินเผา รวมประมาณ 170 แห่ง
8
ระบบสุขภาพ อำเภอสันกำแพง
คลินิกแพทย์ + พยาบาล คลินิกเอกชน แพทย์ 17 แห่ง ทันตแพทย์ 9 แห่ง คลินิกพยาบาล 3 แห่ง คลินิกกายภาพ 1 แห่ง รพช. 1 แห่ง รพ.สต. 11 แห่ง วัด โบสถ์ มัสยิด 72 แห่ง เทศบาล 8 แห่ง อบต. 3 แห่ง อำเภอสันกำแพง อสม. ผู้นำชุมชน โรงเรียนขยายโอกาส 6 แห่ง ร้านขายยา ร้านขายยาแผนปัจจุบัน ขย.1 39 แห่ง ขย.2 1 แห่ง ขายยาสัตว์ 2 แห่ง ขายยาแผนโบราณ 2 แห่ง ศูนย์เด็กเล็ก 21 แห่ง โรงเรียนประถม 14 แห่ง โรงเรียนมัธยม 1 แห่ง
9
บุคลากร CUP สันกำแพง รพ. สสอ./รพ.สต. 1 แพทย์ 7 (1) 2 ทันตแพทย์ 5 -
3 ทันตาภิบาล 1 3 4 เภสัชกร 6+(1) 5 พยาบาลวิชาชีพ 48 22 6 กายภาพบำบัด/กิจกรรมบำบัด/แพทย์แผนไทย นักกายภาพบำบัด 2 นักกิจกรรมบำบัด 1 แพทย์แผนไทย 1 นักกายภาพบำบัด (2) 7 นักเทคนิคการแพทย์ 8 นักวิชาการสาธารณสุข 6 18 9 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 15 10 อื่นๆ 55 33 รวม 137 92 + (4)
10
ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ
1. โรคเบาหวาน* 2. โรคความดันโลหิตสูง* 3. COPD มีอัตราการตรวจซ้ำ นอนโรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาที่สูง 4. กลุ่มโรคหัวใจ เช่นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจวาย มีอัตราการครองเตียงที่สูง การดูแลรักษาที่ซับซ้อน ตลอดจนมีผู้เสียชีวิตจากสาเหตุนี้เป็นอันดับต้น 5. โรคกลุ่มเส้นเลือดสมอง (stroke) มีจำนวนปานกลาง แต่การรักษาฟื้นฟูมีความซับซ้อน ระยะเวลาการครองเตียงนาน มักมีโรคแทรกซ้อนต่างๆ เช่น แผลกดทับ หรือการติดเชื้อที่ปอดหรือทางเดินปัสสาวะ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลและการดูแลที่สูงตลอดจนมีผลกระทบต่อครอบครัวในระยะยาว 6. กลุ่มโรคติดเชื้อเช่น pneumonia, diarrhea, ไข้เลือดออก ส่วนมากมีอาการไม่รุนแรงมาก แต่มีจำนวนและอัตราการครองเตียงในโรงพยาบาลสันกำแพงที่สูง เป็นอันดับต้นๆ 7. อุบัติเหตุ มีอัตราการเสียชีวิตและพิการจากอุบัติเหตุทางท้องถนน จาก hos.plofile
11
ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ
- โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ - โรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง และ - โรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก โรคหูดับ (Streptococcus suis) โดยการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติในระดับโรงพยาบาลสู่ รพ.สต. และชุมชน มีการดำเนินการร่วมกับภาคเครือข่ายสุขภาพ จาก CUP Plofile
12
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระบบสุขภาพ
วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสุขภาพ สังคมชนบท เปลี่ยนเป็นสังคมเมือง หรือกึ่งเมือง แรงงานอพยพ /แรงงานต่างด้าว /ประชากรแฝง การคมนาคมที่สะดวก ถนน 4 เลน
13
วิสัยทัศน์ คพสอ.สันกำแพง
ประชาชนอำเภอสันกำแพงมีสุขภาพดี และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน
14
พันธกิจ 1. จัดบริการสุขภาพและมุ่งเน้นสู่ความเป็นเลิศในการดูแลรักษากลุ่มโรคเรื้อรังแบบองค์รวม 2.ส่งเสริมสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของชุมชนบนฐานการจัดการความรู้ 3.บริหารจัดการ และสนับสนุนการจัดบริการที่มีคุณภาพ
15
ค่านิยม คพสอ.สันกำแพง
16
เป้าประสงค์ ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษา ฟื้นฟูและคุ้มครองผู้บริโภคอย่างทั่วถึง ครอบคลุมและได้มาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพมีมาตรฐานและคุณภาพ ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผล มีประสิทธิภาพ
17
แผนยุทธศาสตร์ 1.ส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย ป้องกันโรค รักษา ฟื้นฟูและคุ้มครองผู้บริโภคอย่างทั่วถึง ครอบคลุมและได้มาตรฐาน 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานและคุณภาพ 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 4.พัฒนาระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผล อย่างมีประสิทธิภาพ
18
วิถีท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ขับเคลื่อนค่ากลางในงาน NCD
วิถีชีวิตเขตเมือง บูรณาการค่ากลาง -แหล่งหัตถกรรม -การควบคุมวัณโรค อปท. เข้มแข็ง EMS วิถีท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ขับเคลื่อนค่ากลางในงาน NCD วิถีชีวิตเขตเมือง ขับเคลื่อนงานNCD สุขภาพจิต งานวัณโรค วิถีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น งาน NCD/ อาหารปลอดภัย
19
ประเด็นตัวชี้วัดนิเทศติดตาม ควบคุมกำกับ ปี 2561
32 ตัวชี้วัด
20
RB 1 ปฐมวัย แม่และเด็ก
21
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย อัตราส่วนการตายมารดาไทย
1. สถานการณ์ของอำเภอที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว ไม่มีมารดาเสียชีวิตและ BA ภาวะตกเลือดหลังคลอด 1 คน ร้อยละ 0.6 , เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม , ร้อยละ 6.04 , หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 83.41, หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ , ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (ครั้งที่ 1,2 ) ร้อยละ 16 ,6.14 , หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการคัดกรองความเสี่ยงร้อยละ 100 , หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 85.85 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ ปรับปรุงและทบทวนกระบวนการห้องคลอดคุณภาพ ,การเฝ้าระวังรายงานแพทย์และส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ,การเตรียมความพร้อมคน และ เครื่องมือยา เวชภัณฑ์ พร้อมใช้ 2.2 ปรับปรุงคลินิก ANC คุณภาพ ระดับรพ. ด้านบุคลากร แนวทางปฏิบัติในคลินิก และเพิ่มศักยภาพ ANC รายใหม่ระดับ รพสต.ทุกแห่ง พัฒนาระบบสื่อสารระหว่างรพ.แม่ข่าย (การส่งต่อหญิงหลังคลอด ) 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1. ปรับปรุงและทบทวนกระบวนการห้องคลอดคุณภาพ ,การเฝ้าระวังรายงานแพทย์และส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ,การเตรียมความพร้อมคน และ เครื่องมือยา เวชภัณฑ์ พร้อมใช้ ทบทวนกระบวนการห้องคลอดคุณภาพหาส่วนขาดการพัฒนา พัฒนาปรับปรุงส่วนขาดขอกระบวนการห้องคลอดคุณภาพ ห้องคลอดคุณภาพ ห้องคลอดคุณภาพได้รับการรับรอง 2 ปรับปรุงคลินิก ANC คุณภาพ ระดับรพ. ด้านบุคลากร แนวทางปฏิบัติในคลินิก และเพิ่มศักยภาพ ANC รายใหม่ระดับ รพสต.ทุกแห่ง 1 ปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติในคลีนิก 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 3 ปรับหมุนเวียนบุคลากรในคลินิก ปรับปรุงโครงสร้าง MCH Board หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการ ANC คุณภาพ คลินิก ANC ผ่านเกณฑ์คุณภาพ หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการดูแลคุณภาพตามเกณฑ์ ๓. พัฒนาระบบสื่อสารระหว่างรพ.แม่ข่าย (การส่งต่อหญิงหลังคลอด ) ทบทวนระบบการสื่อสารระหว่างรพ.แม่ข่าย พัฒนาระบบ ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติร่วมกัน เกิดระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลได้คุณภาพ
22
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย อัตราส่วนการตายมารดาไทย กองทุนสุขภาพระดับตำบล
4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายระดับตำบล กองทุนสุขภาพระดับตำบล 5. การควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล (M&E : Monitoring and Evaluation) ลำดับ วิธีการควบคุม กำกับ ติดตาม หน่วยงานที่ติดตาม จำนวนครั้ง / ปี 1 รายงาน HDC / ก.1 ก.2 รพ./สสอ. ทุกเดือน 2 นิเทศ ติดตาม รายไตรมาส 3. เยี่ยมเสริมพลัง ตามแผนอำเภอ 4 นำเสนอผลงานระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง
23
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
สถานการณ์ของอำเภอที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย (ประเมินครั้งแรก) เป้าหมาย 1,307 คน ผลงาน 1,043 คน ร้อยละ , เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้รับการคัดกรอง เป้าหมาย 1,376 คน ผลงาน 1,323 คน ร้อยละ , เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นและประเมินซ้ำ 1 เดือน เป้าหมาย 264 คน ผลงาน คน ร้อยละ79.17 , ร้อยละเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการวินิจฉัย รักษา ที่ รพ. เป้าหมาย 55 คน ผลงาน 25 คน ร้อยละ เด็ก 0-5 ปี รูปร่างสูงดี สมส่วน เป้าหมาย 10,185 คน ผลงาน คน ร้อยละ45.9 , WCC คุณภาพ (รพ.และ รพ.สต.) 11 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 11 แห่ง , ศพด. คุณภาพ เป้าหมาย 14 แห่ง ผลงาน 13 แห่งร้อยละ 92.68 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 2.1 คณะกรรมการบูรณาการเด็กปฐมวัย ระดับอำเภอยังไม่มีการขับเคลื่อนเป็นรูปธรรม, 2.2 ภาคีเครือข่าย ยังไม่มีส่วนร่วมในการส่งเสริม เฝ้าระวังและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 2.3 การบันทึกข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง (ไม่บันทึก ไม่ทันเวลา) 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1. บูรณาการระหว่าง 4 กระทรวงหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีแผนบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลตามแผนบูรณาการ หน่วยงานได้รับการติดตามการดำเนินงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแบบบูรณาการ ๒. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการติดตามส่งเสริมพัฒนาการ(ผปคอสม. ครู) จัดอบรมการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ เด็กได้รับการ ส่งต่อร้อยละ 90 เด็กได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ ร้อยละ 90 ๓.พัฒนาทักษะบุคลากร ลงข้อมูล ให้มีคุณภาพ ชี้แจงเจ้าหน้าในการลงข้อมูล ร้อยละ ๖๐การลงข้อมูล นิเทศ ติดตามงาน ร้อยละ ๙๐ การลงข้อมูล
24
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กล่าช้า อำเภอสันกำแพง PPA 36,330 บาท 2 โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและพัฒนามาตรการสังคมระดับตำบล กองทุนสุขภาพตำบล 3 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก อำเภอสันกำแพง งบบำรุง รพ. ๒๐,๓๐๐ บาท 5. การควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล (M&E : Monitoring and Evaluation) ลำดับ วิธีการควบคุม กำกับ ติดตาม หน่วยงานที่ติดตาม จำนวนครั้ง / ปี 1 รายงาน HDC รพ./สสอ. ทุกเดือน 2 นิเทศ ติดตาม รายไตรมาส 3. เยี่ยมเสริมพลัง ตามแผนอำเภอ 4 นำเสนอผลงานระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง
25
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน
26
งานวัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน
1. สถานการณ์ การคัดกรองโรคผู้สูงอายุ(Geriatricsyndrome) เป้าหมาย 80 % , ชมรมผู้สูงอายุ ยังขาด ศักยภาพ, คลินิกผู้สูงอายุ คุณภาพผ่านเกณฑ์ 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) การประสานงานของภาคีเครือข่ายยังไม่ดีพอ 2) ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณในการดำเนินงาน 3) การสื่อสารสร้างความเข้าใจกับภาคีเครือข่ายยังไม่ดีพอ 4) ไม่ได้สร้างมาตรการทางสังคมร่วมกัน 5) สมรรถนะแกนนำนักเรียน/ครูอนามัย/จนท.สส.ยังไม่ดีพอ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา เดือน 6 เดือน 9 เดือน ๑. ประชุมภาคีเครือข่ายแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียน 1 ครั้ง ภาคีเครือข่ายมีการประชุมแก้ไขปัญหา 1 ครั้ง ๒. ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 21 โรงเรียน โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 21 โรงเรียน 3. ประชุมภาคีเครือข่ายเยาวชน 2 ครั้ง ภาคีเครือข่ายมีการประชุม 2 ครั้ง 4. ภาคีเครือข่ายจัดทำโครงการของบ อปท.ดำเนินการ อปท.มีโครงการฯ 5. เยาวชนแต่ละตำบลนำเสนอผลการดำเนิน กิจกรรมการนำเสนอผลการดำเนิน 4. มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่
27
RB 3 ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ
28
ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (ตำบล LTC)
1. สถานการณ์ ตำบลมีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ 5 ตำบล , Care Manager ที่ผ่านการอบรม 70 ชั่วโมง 1 คน : 1 ตำบลเป้าหมาย ครบทุกตำบล, มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) การคัดกรองกลุ่มอาการ Geriatricsyndrome ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ไม่ครบทุกโรค ขาดการตรวจสอบอาการกลุ่มเสี่ยง และส่งต่อ รพ. 2) มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์พื้นฐานชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ขาดการดำเนินกิจกรรม/ประชุมต่อเนื่องในบางตำบล 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) หรือ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ที่มีศักยภาพและเพียงพอต่อการดูแลกลุ่มเป้าหมาย 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จาก สถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยเชื่อมโยงกับงานHome ward และคลินิกหมอครอบครัว 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล ทั้งเชิงรับและเชิงรุกโดยกำหนดทันตาภิบาลรับผิดชอบ 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan) มีการเบิกจ่ายงบประมาณทุกตำบล 7. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนตำบลLTC แต่การขับเคลื่อนการดำเนินงานยังไม่ต่อเนื่อง
29
3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List)
ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1.มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้อง ได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว ชี้แจงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละพื้นที่ ดำเนินการคัดกรอง 40 % ดำเนินการคัดกรอง 40% สรุปผลการดำเนินงาน 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ระดับพื้นฐาน จัดทำแผนการขับเคลื่อนงานชมรมผู้สูงอายุ จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการภาคีเครือข่ายผู้สูงอายุ -ภาคีเครือข่ายดำเนินงานพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ -เยี่ยมเสริมพลัง ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับดี 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ(Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) หรือ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ วางแผนการอบรม CM และ CG ดำเนินการอบรม CG CG, CM จัดทำCare plan เสนอ Care plan ดูแลผู้ป่วยตามCare plan CM, CGดูแลผู้ป่วยตามCare plan ประชุมConference case ปรับปรุงCare plan ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลตามCare plan -สรุปผลการดำเนินงาน และ วางแผนการดำเนินงานในปี 2562 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จาก สถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหสาขาวิชาชีพ ชี้แจงการทำงาน และประชุมชี้แจงกลุ่ม ดำเนินงานเยี่ยมบ้าน สรุปผลการดำเนินงาน และ วางแผนการดำเนินงานในปี 2562 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล โครงการทันตกรรม จัดกิจกรรมดูแลกลุ่มเป้าหมายตามชุดสิทธิประโยชน์ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลด้านทันตกรรม 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan) การให้ CG ดำเนินการกลุ่มเป้าหมายของแต่ละตำบล 7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล
30
ตำบล LTC มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ
1. ประชุมชี้แจง และสร้างความเข้าใจกับทุกพื้นที่ คืนข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุให้ชุมชน ชมรม 2. สนับสนุนการสร้างCaregiver ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่ต้องได้รับการพึ่งพาในพื้นที่ 3.สนับสนุนการส่ง Care manager ในทุกตำบล 4. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน การจัดทำ Care plan ในแต่ละตำบล 5.รายงานผลการประเมิน มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ 1. สร้างเครือข่าย 2. สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินสถานการณ์การจมน้ำพื้นที่ เพื่อดูแนวโน้ม/ความรุนแรง 3. ดำเนินงาน/เบิกจ่ายงบประมาณ ตรงตามแผนที่กำหนดไว้
31
4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project )
ตำบล LTC 4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) อำเภอสันกำแพง ปี ๒๕๖๑ เงินบำรุง, สปสช. 2 Term Care) ดับตำบล ปี ๒๕๖๑ กองทุนสุขภาพตำบล 5. การควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล (M&E : Monitoring and Evaluation) ลำดับ วิธีการควบคุม กำกับ ติดตาม หน่วยงานที่ติดตาม จำนวนครั้ง / ปี 1 รายงาน HDC รพ./สสอ. ทุกเดือน 2 นิเทศ ติดตาม รายไตรมาส 3. เยี่ยมเสริมพลัง ๑ ครั้ง/ปี/รพ.สต. 4 นำเสนอผลงานระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง
32
งานผู้สูงอายุ 1. สถานการณ์ การคัดกรองโรคผู้สูงอายุ(Geriatricsyndrome) เป้าหมาย, ชมรมผู้สูงอายุ ยังขาด ศักยภาพ, คลินิกผู้สูงอายุ คุณภาพผ่านเกณฑ์ 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) การคัดกรองครอบคลุม ร้อยละ 80 % ของประชากร สูงอายุ แต่เรื่องคุณภาพ ผลการคัดกรอง ยังคงขาดความสมบูรณ์ และถูกต้องการบันทึกข้อมูลในระบบ HDC ให้ถูกต้องครบถ้วน 2) ขับเคลื่อนการดำเนินงานการจัดกิจกรรม และดำเนินการในชมรมตำบล มีกิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ ทั้งในชมรม ในโรงเรียนผู้สูงอายุ/มีกลไกลการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ก่อให้เกิด การดูแลสุขภาพกาย และ ใจอย่างเป็นรูปธรรม 3)ดำเนินงานในคลินิกผู้สูงอายุ ที่พบภาวะที่ผิดปกติในผู้ที่ได้รับการคัดกรอง โดยมีกิจกรรม การส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู ที่มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับปัญหาของผู้สูงอายุ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา เดือน 6 เดือน 9 เดือน ๑.พัฒนาทักษะบุคลากร ค้นหาคัดกรอง/ลงข้อมูล ให้มีคุณภาพ ประชุมชี้แจงเจ้าหน้า/อสมในการคัดกรอง ติดตามการดำเนินงาน สรุปผล เพื่อการพัฒนางานในปี 2562 ๒. การบันทึกข้อมูลโรคผู้สูงอายุให้ ครบถ้วน/ถูกต้อง เป็นปัจจุบันใน HDC เริ่มดำเนินการคัดกรองและ บันทึกข้อมูล การคัดกรองและลงข้อมูลใน HDC 80 % การคัดกรองและลงข้อมูลใน HDC 20 % ๓.พัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ประชุมชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรม ในปี 2561 ดำเนินงานเพื่อพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุในตำบลผ่านเกณฑ์คุณภาพทุกตำบล ๔. พัฒนาคุณภาพของงานคลินิกผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์ คุณภาพ ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดรูปแบบการให้บริการ ให้บริการผู้ที่มี ภาวะ จากการคัดกรอง ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม ส่งต่อการรักษา ประเมินผลการดำเนินงานคลินิก
33
มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ : ขับเคลื่อนการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายผู้สูงอายุระดับอำเภอ
1.ประชุมชี้แจงกระบวนงานการทำงาน คืนข้อมูลที่จำเป็น 2.เยี่ยมเสริมพลังการดำเนินงานพื้นที่ / รายงานผลการประเมิน มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ 1. สร้างเครือข่ายการทำงานศูนย์ผู้สูงอายุในพื้นที่ร่วมกับท้องถิ่นอปท.ในพื้นที่ 2. สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อดูแนวโน้มการดำเนินงาน 3.เบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนที่กำหนดไว้
34
4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project )
งานผู้สูงอายุ 4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย ใจผู้สูงอายุ อำเภอสันกำแพง งบ สปสช.54,150 บาท 2 โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกาย ใจผู้สูงอายุ ระดับตำบล กองทุนสุขภาพตำบล 5. การควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล (M&E : Monitoring and Evaluation) ลำดับ วิธีการควบคุม กำกับ ติดตาม หน่วยงานที่ติดตาม จำนวนครั้ง / ปี 1 รายงาน HDC รพ./สสอ. ทุกเดือน 2 นิเทศ ติดตาม รายไตรมาส 3. เยี่ยมเสริมพลัง ๑ ครั้ง/ปี/รพ.สต. 4 นำเสนอผลงานระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง
35
การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน (COC)
1. สถานการณ์ความครอบคลุมในการเยี่ยมบ้านในกลุ่มเป้าหมาย, การใช้ Chart Home Ward ในผู้ป่วยกลุ่มสีแดง, มีศูนย์ฟื้นฟูในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง/อำเภอ 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) ความครอบคลุมและการดูแลที่ต่อเนื่อง2) คุณภาพการบริการ ของหน่วย HHC ทีม 3)การประสานงาน และความเข้มแข็งของชุมชน 4) ศูนย์ฟื้นฟูในชุมชน 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1.ความครอบคลุมการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยและความทันเวลา รวมถึงการตอบกลับข้อมูลผลการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย ประชุมวางแผนบุคลากรที่ เกี่ยวข้องชี้แจงการทำงานเชื่อมโยงสู่ชุมชน ติดตามการทำงานและข้อมูล 2.การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ในผู้ป่วยที่บ้าน ได้แก่แผลกดทับ, ข้อติด, UTI,Fall ประชุมวางแผน 4. มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ ชี้แจงกระบวนงาน / รายงานผลการประเมินการดำเนินงาน 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ ดำเนินงาน/เบิกจ่ายตรงตามแผนที่กำหนดไว้
36
งานการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)
1. สถานการณ์ : มีโครงสร้างคณะทำงาน แต่การประชุมวิเคราะห์ข้อมูล พัฒนางานไม่ต่อเนื่อง มีหน่วยบริการการดูแลประคับประคองตามเกณฑ์คุณภาพ กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care ร้อยละ มีการรักษาด้วย Strong Opioid ร้อยละ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 2. GAP : 1. คณะทำงานไม่ครอบคลุมวิชาชีพตามโครงสร้างการที่กำหนดไว้ การประชุมไม่ต่อเนื่อง รมการระดับ 2. ไม่มีบุคลากรรับผิดชอบหลักเฉพาะ บุคลากรไม่ผ่านการอบรม 3. บุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการใช้ยา Strong Opioid 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน(Task List) : ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน -แพทย์ผ่านการอบรมด้าน Palliative เป็นประธานหรือกรรมการร่วมทีมพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคอง / -เพิ่มการเข้าถึง Family Meeting และการจัดทำ Advance Care Planning ≥ ร้อยละ 50 ของผู้ป่วย Palliative Care รายใหม่ -มีการรักษา/ดูแล/บรรเทาด้วย Strong Opioid Medicationเพิ่มขึ้น>ร้อยละ 50 -มีงานวิจัยหรืองานพัฒนาคุณภาพ (R2R, Mini research, CQI) หรือ Best /Good Practice อย่างน้อย 1 เรื่อง
37
งานการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)
มาตรการ: 1. ส่งเสริมพัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพทีมงาน 3. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในตำบลนำร่อง มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ : จัดตั้งทีมระดับชุมชน คืนข้อมูล ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน 4. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคอง ระดับอำเภอ เงินบำรุง, 2 โครงการพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคอง ตำบล กองทุนสุขภาพตำบล 3 แผนพัฒนาบุคลากร (ส่งอบรม) เงินบำรุง 5. การควบคุมกำกับ ติดตาม ประเมินผล (M&E : Monitoring and Evaluation) ลำดับ วิธีการควบคุม กำกับ ติดตาม หน่วยงานที่ติดตาม จำนวนครั้ง / ปี 1 รายงาน HDC รพ./สสอ. ทุกเดือน 2 นิเทศ ติดตาม รายไตรมาส 3 นำเสนอผลงานระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง
38
งานผู้พิการ 1. สถานการณ์ : คนพิการทุกประเภทเข้าถึงบริการสุขภาพ ตามมาตรฐาน ไม่ครอบคลุม 2. GAP : 1. ผู้พิการยังขาดการเข้าถึงบริการ/อุปกรณ์ การบริการที่มีมาตรฐาน และครอบคลุม 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน(Task List) : กิจกรรมสำคัญ 3 เดือน 6 - 9 เดือน 12 เดือน 1. พัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพด้านภาพผู้พิการ 1. ประสานพื้นที่เพื่อกำหนด เป้าหมาย กลุ่มผู้ให้บริการ ปี 61 2. จัดทำคำสั่งและฟื้นฟูศักยภาพคณะกรรมการประเมินคุณภาพมาตรฐาน 3. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานพัฒนา 1.คณะกรรมการออกตรวจประเมินผู้พิการเป้าหมายของปี 60 3.นิเทศ/ติดตาม/ควบคุมกำกับการพัฒนา 1. วิเคราะห์ สรุปผลการประเมินการดำเนินงาน 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ : 1. ส่งเสริมพัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพผู้พิการ 2.บูรณาการร่วมกับ พชอ. 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ : ดำเนินงานร่วมกับ อปท.,พม. เชื่อมโยงกับ พชอ.
39
RB 4 โรคไม่ติดต่อ NCD
40
งานมะเร็ง 1. สถานการณ์ ความครอบคลุมในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 80 % 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ การคัดกรองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายมาตรวจเป็นกลุ่มเดิม ซ้ำ กลุ่มพื้นที่กลุ่มเมืองไม่สามารถมารับการตรวจได้ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เดือน 1.เชื่อมประสานกลุ่มพัฒนาบทบาทสตรีอำเภอสันกำแพงเพื่อสร้างความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ เชิญกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ประชุมวางแผนคณะกรรมการบุคลากรเกี่ยวข้อง สื่อสาร ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ในกลุ่มสตรีแม่บ้าน ติดตามการทำงานและข้อมูล 2.การดำเนินการคัดกรอง ออกตรวจกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ประชุมวางแผนเตรียมอุปกรณ์ รณรงค์คัดกรอง การคัดกรองครอบคลุม 40 % การคัดกรองครอบคลุม 80 % 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับจังหวัด : 1. ส่งเสริมพัฒนา ติดตามกำกับคุณภาพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพผู้พิการ 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ ดำเนินงาน/เบิกจ่ายตรงตามแผนที่กำหนดไว้
41
งาน NCD 1. สถานการณ์ของอำเภอที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว : อัตราป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น อัตราควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตยังต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 9.85 และ การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนยังไม่ครอบคลุม ร้อยละ ระบบข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีรูปแบบการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) ระบบข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอำเภอและข้อมูลบริการของ รพ.และรพ.สต.ไม่เชื่อมโยงกัน 2) กระบวนการสนับสนุนการจัดการตนเองขาดความต่อเนื่อง และ 3) การเชื่อมโยงชุมชนไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
42
งาน NCD 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) 3 เดือน 6 เดือน
9 เดือน 12 เดือน บันทึกข้อมูลการคัดกรองและข้อมูลบริการในโปรแกรม จัดอบรมบุคลากรวิเคราะห์ข้อมูล 43 แฟ้ม ติดตามผลงานตามตัวชี้วัด สำรวจข้อมูลและปรับปรุงฐานข้อมูล -จัดทำสื่อความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -พัฒนาวิทยากรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -กระบวนการกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ควบคุม ติดตามเสริมพลัง ประเมินผล จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน บันทึกข้อมูลการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในโปรแกรม สำรวจข้อมูลผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการคัดกรองและติดตามให้ครอบคลุม -ปรับปรุงแนวปฏิบัติการรักษา DM HT DLP CKD -อบรมการใช้แนวปฏิบัติแก่ บุคลากรพยาบาล จัดบริการคลินิก NCD ใกล้บ้านใกล้ใจ จัดบริการคลินิก NCD ใกล้บ้านใกล้ใจ ครอบคลุมทุกตำบล จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน
43
กลยุทธ์ขับเคลื่อนงาน NCD: PIRAB
พัฒนาทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคณะทำงานระดับชุมชน สนับสนุนองค์ความรู้ ทักษะการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนแก่บุคลากร อสม พัฒนาทักษะการจัการข้อมูลบุคลากร building capacity คืนข้อมูลแก่ผู้ป่วยและชุมชน กำหนดมาตรการสังคม/ชุมชน ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ advocate เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตามเสริมพลัง ติดตามตัวชี้วัด regulate ประสานท้องถิ่นสนับสนุนงบกองทุนตำบลด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเรื้อรัง สนับสนุนความรู้วิชาการและเครื่องมือการจัดการตนเอง สนับสนุนงบประมาณการจัดอบรมและการบันทึกข้อมูลโรคเรื้อรัง invest partnership ท้องถิ่น สร้างการมีส่วนร่วมของภาคท้องถิ่น ในการจัดทำแผนงาน โครงการ ทีม แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการวิเคราะห์ข้อมูล จัดตั้งทีมวิทยากรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อสม./ทีมชุมชน สร้างการมีส่วนร่วมการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนร่วมกับอสม.
44
RB 5 ควบคุมโรค
45
โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ข้อที่ รายการ ผลการประเมิน 1 การกำหนดนโยบาย ผ่าน 2 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 3 การคัดแยกมูลฝอยทั่วไป 4 การพัฒนาส้วม (HAS) 5 มาตรการประหยัดพลังงาน 6 การจัดสิ่งแวดล้อมทั่วไปภายในและภายนอกอาคาร 7 กิจกรรมสุขภาพดีแบบองค์รวม 8 สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในรพ. 9 ร้านอาหารใน รพ. 10 บริการน้ำดื่มสะอาด 11 การจัดการมูลฝอยทุกประเภท 12 การพัฒนาส้วม (HAS) ที่อาคารผู้ป่วยใน (IPD) 13 นวัตกรรม (Product, Process, Service, Management) ไม่ผ่าน 14 สร้างเครือข่ายการพัฒนา GREEN Community ผ่านเกณฑ์ระดับ พื้นฐาน สถานการณ์ ปี 2560 Garbage Restroom Energy Environmental Nutrition
46
โอกาสในการพัฒนา ต่อไป ระดับดี >> ระดับดีมาก
GREEN & CLEAN Hospital โรงพยาบาลผ่านระดับพื้นฐาน เน้นการสร้าง แลกเปลี่ยนนวัตกรรมและการขยายการพัฒนา GREEN & CLEAN สู่หน่วยงานอื่นๆในชุมชน เช่น รพ.สต. โดยมุ่งเน้นประเด็น การจัดการมูลฝอยโดยเฉพาะการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ จาก รพ.สต. พัฒนาให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสู่ระดับที่สูงขึ้น ระดับดี >> ระดับดีมาก
47
RB 6 คบ/เภสัช
48
RB 7 ยาเสพติด/สุขภาพจิต
49
RB 8 แพทย์แผนไทย
50
งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1. สถานการณ์ ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย 2) แนวทางการคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่สามารถรักษาอาการเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทยไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3) บุคลากรด้านแพทย์แผนไทยไม่เพียงพอต่อการให้บริการ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา เดือน 6 เดือน 9 เดือน ๑.ระบบบริการ(คุณภาพบริการ) จัดทำแนวทางการทำงานแพทย์แผนไทยในอำเภอสันกำแพง มีแนวทางการทำงานแพทย์แผนไทยที่เป็นระบบและได้มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก(รพ.สส.พท) รับประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก(รพ.สส.พท) จากงานแพทย์แผนไทย จ.เชียงใหม่ โรงพยาบาลและ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (รพ.สส.พท) ๒. ระบบข้อมูลบริการ จัดประชุมเจ้าหน้าที่ลงข้อมูลในอำเภอสันกำแพง จัดทำแนวทางเกี่ยวกับการลงข้อมูลด้านการแพทย์แผนไทยให้ถูกต้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีแนวทางการลงข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อมูลการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยถูกต้อง ๓. การส่งเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ จัดทำเอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีสื่อให้ความรู้สำหรับผู้ที่มารับบริการทั้งในและนอกสถานบริการ ผู้มารับบริการมีความรู้และมีทางเลือกในการดูแลสุขภาพตังเองเพิ่มมากขึ้น ผู้มารับบริการสามารถนำความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจำวันมากขึ้น รู้จักการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมาเป็นยารักษาโรคได้ ๔. ศักยภาพบุคลากรฯ เข้าร่วมอบรมทางไกลถ่ายทอดองค์ความรู้ ประสบการณ์เวชปฏิบัติด้านการแพทย์แผนไทย ผู้เข่าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจ วินิจฉัย และสามารถจัดบริการด้านการ แพทย์แผนไทยได้อย่างถูกต้อง ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับ กลุ่มสหวิชาชีพและผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมอบรมได้ กลุ่มสหวิชาชีพและผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมอบรมมีความรู้สามารถตรวจ วินิจฉัยและสามารถจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยได้อย่างถูกต้อง
51
งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1. สถานการณ์ ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน 2. GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ 1) ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย 2) แนวทางการคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่สามารถรักษาอาการเจ็บป่วยด้วยการแพทย์แผนไทยไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3) บุคลากรด้านแพทย์แผนไทยไม่เพียงพอต่อการให้บริการ 3. เป้าหมายระยะสั้น 12 เดือน (Task List) ประเด็นพัฒนา เดือน 6 เดือน 9 เดือน 5. การบูรณาการงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ความรู้เรื่องการดูแลเท้าด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย แก่ รพ.สต. อำเภอสันกำแพง มีการตรวจประเมินเท้าผู้ป่วยเบาหวานโดยใช้แบบประเมิน Diabetic foot screening จาก สหวิชาชีพที่ผ่านการอบรม ให้บริการแช่เท้าแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการใน รพ.สต. ทีมสหวิชาชีพสามารถใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลเท้าได้ 6. การส่งเสริมในชุมชน สวนสมุนไพรใน รพ.สต./โรงเรียน/ชุมชน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนด้านสมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้ที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดตั้งสวนสมุนไพรในโรงพยาบาล ผู้รับผิดชอบงานแพทย์แผนไทยขออนุมัติดำเนินการจัดตั้งสวนสมุนไพรในโรงพยาบาล ผู้รับผิดชอบงานแพทย์แผนไทยดำเนินการจัดทำสวนสมุนไพรโดยจัดทำป้ายบอกชื่อ สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด ประชาชนหรือผู้ที่สนใจรู้จักใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลตัวเองเพิ่มขึ้น 4.มาตรการ/กลยุทธ์ระดับอำเภอ : 1. โรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 11 แห่ง ในอำเภอสันกำแพงผ่านมาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (รพ.สส.พท) 2. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานผ่านตามตัวชี้วัด 5.มาตรการ /กลยุทธ์ระดับพื้นที่ : 1. ดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ และเบิกจ่ายงบประมาณ
52
RB 9 DHS /HA/PCC
53
RB 10 บริหาร/เงิน/คน
54
GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่
หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลสุขภาพ (ทั้งเวชระเบียนและรหัสมาตรฐาน) สถานการณ์ของอำเภอที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว ร้อยละหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลสุขภาพ (ทั้งเวชระเบียนและรหัสมาตรฐาน) เป้าหมายร้อยละ 75 GAP ในเชิงกระบวนการ/พื้นที่ การบันทึกเวชระเบียนไม่ครบถ้วน - แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่บันทึกข้อมูล ไม่ทราบว่าต้องบันทึกข้อมูล ให้ละเอียดเพียงใด - แบบฟอร์ม ไม่เอื้อต่อการบันทึกข้อมูล ข้อมูลรหัสมาตรฐาน(ICD10) กรณีผู้ป่วยนอก แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ผู้บันทึกคำวินิจฉัย บันทึกคำวินิจฉัย ไม่ครบถ้วน และไม่ถูกต้อง ส่งผลให้ รหัส ICD 10 ที่ พ่วงกับคำวินิจฉัย ที่ถูกเลือก จึงไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง
55
เป้าหมายแนวทางพัฒนาในระยะสั้น
ตัวแทนแต่ละหน่วยงาน ที่เป็นคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพ ชี้แจงบุคลากร ในฝ่ายให้ทราบรายละเอียด ที่ต้องบันทึก แพทย์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพ อบรมให้ความรู้แก่แพทย์ ในเรื่องของการบันทึกข้อมูล ปรับปรุงแบบฟอร์มที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เวชสถิติถ่ายสำเนา แนวทางการให้ คำวินิจฉัย โรคที่พบปัญหาบ่อย ให้ฝ่ายต่างๆ ที่มีหน้าที่ บันทึกคำวินิจฉัย
56
แผนงาน คพสอ.สันกำแพง ปี 2561
แผนงาน/โครงการ แหล่งงบประมาณ งบประมาณ 1.แผนพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กล่าช้า อ.สันกำแพง เงินบำรุง รพ.สันกำแพง 20,300 2.แผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 74,000 3.แผนพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและจัดการโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ปี 2561 กองทุนโรคเรื้อรัง 1,344,854 4.แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย : วัยผู้สูงอายุ อำเภอสันกำแพง ปี 2561 กองทุน LTC 159,490 5.แผนการป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ: การส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยด้านอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ อำเภอสันกำแพง ปี 2561 6,900 6..แผนพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยอำเภอสันกำแพง ประจำปี 2561 32,800 7.แผนพัฒนาระบบการจัดการแผนงานโครงการสร้างเสริมสุขภาพ คพสอ.สันกำแพงปีงบประมาณ 2561 39,900
57
แผนงาน คพสอ.สันกำแพง ปี 2561
แผนงาน/โครงการ แหล่งงบประมาณ งบประมาณ 8. แผนพัฒนาระบบงานสุขศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เงินบำรุง รพ.สันกำแพง 20,200 9.แผนพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคอง 13,340 10. แผนงานป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงด้านการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนอำเภอสันกำแพง 43,375 11.แผนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 40,438
58
แผนงาน คพสอ.สันกำแพง ปี 2561
แผนงาน/โครงการ แหล่งงบประมาณ งบประมาณ 12. แผนสนับสนุนระบบการทำงานและบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลสันกำแพง เงินบำรุง รพ.สันกำแพง 66,900 13. แผนพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : คลินิกหมอครอบครัว) 19,500 14. แผนพัฒนาสนับสนุนบริการด้านวิชาการสารสนเทศ คพสอ.สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561 41,750 15. แผนพัฒนาศักยภาพการให้บริการงานวัณโรค อำเภอสันกำแพง ปี 2561 84,400 16. แผนการบริหารและพัฒนาบุคลากร คพสอ.สันกำแพง ปี 2561 85,160 17.แผนการพัฒนาคุณภาพระบบบริการเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอสันกำแพง ประจำปี 2561 331,800
59
แผนงาน คพสอ.สันกำแพง ปี 2561
แผนงาน/โครงการ แหล่งงบประมาณ งบประมาณ 18. แผนพัฒนาการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงพยาบาลสันกำแพง ปี งบประมาณ 2561 เงินบำรุง รพ.สันกำแพง 58,600 19. แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย(ด้านสุขภาพ) 89,200 รวม เงินบำรุง 1,507,247 บาท กองทุนฯ 1,116,960 บาท
60
งบ PPA ปี 2560 โครงการคัดกรองเฝ้าระวังดูแลสตรีไทยปลอดภัยจากโรคมะเร็ง
ปากมดลูก งบประมาณ 456,500 บาท (สี่แสนห้าหมื่นหกพันหาร้อยบาทถ้วน)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.