ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยภรณ์พันธ์ พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นำพาประเทศให้หลุดพ้นจากกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้ำความ และกับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา พร้อมๆ กับ ปฏิรูปประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ขับเคลื่อน ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลไกประชารัฐ จนสามารถเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง ในศตวรรษที่ 21 เดินหน้าไปด้วยกัน (Stronger, Together) ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (Leave No One Behind) สร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Strength from Within) เชื่อมโยงประชาคมโลก (Connect to the World) นโยบาย ขับเคลื่อน หลักคิด พลังประชารัฐ มุ่งขยาย “พื้นที่ร่วม” (Extending Common Ground) เพื่อบรรลุ “เป้าหมายร่วม” (Achieving Common Goal)
2
5 New Social Architecture ขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0
สร้าง Innovation-Driven Economy สร้าง Inclusive Society สังคมแห่งโอกาส สังคมที่สามารถ สังคมที่เป็นธรรม สังคมที่เกื้อกูลแบ่งปัน สังคมที่พอเพียง คนไทย 4.0 เพื่อการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ช่วยเหลือผู้อื่น คนไทย ๔.๐
3
4 วาระ การขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0
Thailand 4.0 in Action ๑. สร้างสังคมแห่งโอกาสและสังคม ที่สามารถใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้าง Multiple Growth Poles ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด ๔.๐ ๓. สร้าง Competitive Ecosystem สำหรับกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ๔. ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานแห่งอนาคต กลไก ประชารัฐ ซ่อมเสริมฐานราก เตรียมการสู่อนาคต วาระที่ 1 สร้างสังคมแห่งโอกาส และ สังคมที่สามารถ ใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย วาระที่ 1 สร้างสังคมแห่งโอกาส และสังคมที่สามารถ ใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย OTOP/ SMEs แรงงาน ไร้ฝีมือ คนจน ในเมือง คนสูงวัย เกษตรกรรายย่อย ขับเคลื่อนโดย ก.เกษตร ก.แรงงาน ก.พัฒนาสังคมฯ ก.มหาดไทย ก.อุตสาหกรรม ก.สาธารณสุข ธกส. ธนาคารออมสิน ธอส. กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ
4
วาระที่ ๒ สร้าง Multiple Growth Poles ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด ๔.๐
ใช้แนวคิด Area-Based Collaboration (ABC) ผ่านกลไกประชารัฐเชิงพื้นที่ ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัด หอการค้า สภาอุตสาหกรรม ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ฯลฯ ขับเคลื่อนผ่านวิสาหกิจเชิงสังคม อาทิ บริษัทประชารัฐสามัคคี, PPP เป็นสัญญาประชาคมของประชารัฐในระดับพื้นที่ (Area-Based Social Contract) เป็นการวางยุทธศาสตร์ทั้งระยะสั้น กลาง ยาว เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และโมเดล ประเทศไทย ๔.๐ เป็นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนจะมีความเป็นเจ้าของ จึงเป็นกระบวนการปลูกฝังระบอบประชาธิปไตย เป็น Demand Side Approach ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ลดโอกาสการสูญเสียจากการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจาก Supply Side Approach ที่มาจาก ภาคราชการ ปิดกั้นโอกาสการแทรกแซง หรือดำเนินการมาตรการประชานิยม ที่มาจากนักการเมือง อย่างในอดีต จะกระตุ้นให้เกิดการทำให้จังหวัดเป็นพื้นที่ที่น่าสนใจ (Attractive Place) เพื่อดึงดูดการลงทุน จากภายนอก การสร้างคนในพื้นที่ให้มีผลิตภาพสูง (Productive People) รวมถึงการสร้างสินค้าและบริการมูลค่าสูงของจังหวัดที่สามารถแข่งขันได้ (Competitive Products/Services ตั้งงบประมาณให้จังหวัดละ ๑๐ ล้าน เพื่อให้คนในพื้นที่ร่วมกันทำ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ “จังหวัด ๔.๐” ให้แล้วเสร็จภายใน 3 เดือน มี Roadmap กลไกขับเคลื่อน พร้อมตัววัดผลสัมฤทธิ์ ที่เป็นรูปธรรม ทั้งในระยะ 1 ปี 5 ปี และ 20 ปี ที่ชัดเจน และมี Quick win ออกมาภายใน 6 เดือน
5
วาระที่ 4 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน แห่งอนาคต
วาระที่ 3 สร้าง Competitive Ecosystem สำหรับกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย เทคโนโลยี อุตสาหกรรม วิสาหกิจ ประเทศไทย 4.0 รากแก้ว พัฒนาเทคโนโลยีของตนเอง ในระดับหนึ่ง เป็นเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ ความต้องการของประเทศ วิสาหกิจที่ขับเคลื่อน ด้วยนวัตกรรม Tech Based Startups วาระที่ 4 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน แห่งอนาคต ปรับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และโครงสร้างสู่การเป็น Extended Nation เพื่อรองรับโลก ไร้พรมแดน One Word One Destination Connectivity-Based Infrastructure ประเทศไทย 4.0 Regional Commonwealth Stateless Corporations Cloud Communities Global Villages Networked Cities ประเทศไทย ประชาคมโลก ประเทศไทย ประชาคมโลก การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทางกายภาพ การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายของผู้คน การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเชิงสถาบัน การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายในโลกเสมือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.