ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
2
เซลล์ (Cell) ความหมายของเซลล์
เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ทำหน้าที่หรือกระบวนการต่าง ๆ ในการดำรงชีวิต ซึ่งรูปร่างของเซลล์แต่ละอย่างจะแตกต่างกันมากแต่จะมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกัน
3
ประวัติของเซลล์ ประมาณ พ.ศ (ค.ศ. 1590) Zaccharias Janssen และ Hans Janssen ในการประดิษฐ์เครื่องมือสำหรับส่องและขยายภาพของสิ่งที่มีขนาดเล็กให้สามารถมองเห็นได้ชัดเจนขึ้น เรียกเครื่องมือชนิดนี้ว่า "กล้องจุลทรรศน์"
4
ประวัติของเซลล์ ค.ศ (พ.ศ อันตน ฟัน เลเวนฮุก (Anton Van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตร์ชาวฮอลันดา ผลงาน ประดิษฐ์แว่นขยายธรรมดา ให้มีกำลังขยายมากขึ้น และใช้ส่องดูสิ่งต่างๆ เช่นเลืด อสุจิ น้ำจากแหล่งน้ำ พบแบคทีเรีย สาหร่าย โพรโตซัวเป็นผู้ค้นพบจุลินทรีย์เป็นคนแรก
5
ประวัติของเซลล์ โรเบิร์ตฮุค พ.ศ.2208
โรเบิร์ตฮุค พ.ศ.2208 ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นตรวจดูชิ้นไม้คอร์คที่ฝานบางๆ พบว่าชิ้นไม้คอร์กประกอบด้วย ช่องขนาดเล็มมากมายเขาจึงตั้งชื่อแต่ละช่องว่าง เรียกว่า เซลล์ (CELL) ชิ้นไม้คอร์ก เป็นเซลล์ที่ตายแล้วเหลืออยู่แต่ผนังเซลล์(cell wall) ที่แข็งแรงประกอบไปด้วยสารพวก เซลลูโลส และ ซูเบอริน
6
ธีออร์ดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwan) พ.ศ.2382
ประวัติของเซลล์ ธีออร์ดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwan) พ.ศ.2382 และแมทเธียส ชไลเดน (Matthias Schleiden) นักชีววิทยา ชาวเยอรมัน ได้เสนอทฤษฎีของเซลล์ ( Cell theory) มีใจความว่า “สิ่งมีชีวิตทั้งปวงประกอบด้วย เซลล์ และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ ”
7
ประวัติของเซลล์ พ.ศ (ค.ศ. 1835) Dujardin เป็นผู้พบว่าภายในเซลล์มีส่วนประกอบที่มีลักษณะเป็นของเหลวและสำคัญต่อชีวิต
8
ประวัติของเซลล์ - Hugo Von Mohl ได้ตั้งชื่อของเหลวดังกล่าวว่า "โพรโทพลาซึม" (Protoplasm) - ในปี พ.ศ โดย Robert Brown ยังมีการค้นพบก้อนโพรโทพลาซึมที่เรียกว่า "นิวเคลียส" (Nucleus)
9
สรุปทฤษฎีเซลล์ ได้ดังนี้ 1. เซลล์เป็นหน่วยหนึ่งในทางโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย 2. เซลล์เป็นหน่วยหนึ่งในทางหน้าที่ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย 3. เซลล์ทั้งหลายเกิดมาจากเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ก่อนแล้ว (โดยการแบ่งเซลล์)
10
โครงสร้างของเซลล์ แหล่งข้อมูล
11
ทฤษฎีของเซลล์ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบขึ้นด้วยเซลล์และเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดและทฤษฎีเซลล์ในปัจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสำคัญ 3 ประการคือ
12
ทฤษฎีของเซลล์ 1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ และภายในเซลล์มีสารพันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมทำให้สิ่งมีชีวิตนั้นดำรงอยู่ได้
13
ทฤษฎีของเซลล์ การจัดระบบการทำงานภายใจเซลล์และโครงสร้างของ เซลล์
2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มี การจัดระบบการทำงานภายใจเซลล์และโครงสร้างของ เซลล์
14
ทฤษฎีของเซลล์ เซลล์ของเซลล์เดิม (ตามทฤษฎีวิวัฒนาการของสารอินทรีย์
เซลล์ต่าง ๆ มีกำเนิดมาจากเซลล์เริ่มแรกโดยการแบ่ง เซลล์ของเซลล์เดิม (ตามทฤษฎีวิวัฒนาการของสารอินทรีย์ พบว่าสิ่งมีชีวิตแรกเริ่มเกิดมาจากสิ่งไม่มีชีวิต) โดยนักชีววิทยา แหล่งข้อมูล
15
ชนิดของเซลล์ 1. Prokaryotic cells เซลล์ของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำ พวก
แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียว แกมน้ำเงิน และไมโครพลาสมา ลักษณะเด่นคือ เซลล์ไม่มีเยื่อหุ้ม แบ่งแยกต่างหาก ลักษณะ เซลล ์จะค่อนข้างเล็ก มีขนาด ไมโครเมตร แหล่งข้อมูล
16
ตัวอย่างสัตว์ Prokaryotic cells
อะมีบา เป็น โปรโตซัว สามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยส่วนของลำตัวที่ยื่นออกมาชั่วคราว เรียกว่า เท้าเทียม (pseudopods) และถือว่าเป็นตัวแทนของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ที่รู้จักกันดี อะมีบา (amoeba)
17
ตัวอย่างสัตว์ Prokaryotic cells
เป็นโปรโตซัวที่มีคลอโรพลาสต์สามารถสังเคราะห์แสงสร้างอาหารเองได้เช่นเดียวกับพืช นักพฤกษาศาสตร์จึงมักจัดเป็นสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่งด้วย เซลล์มีลักษณะเรียวยาว ด้านหน้ามีแส้ 1 เส้น ช่วยโบกพัดช่วยเคลื่อนที่ พบอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำ ยูกลีนา
18
ตัวอย่างสัตว์ Prokaryotic cells
เป็นจุลินทรีย์อีกชนิดหนึ่งที่อยู่อย่างอิสระซึ่งมีทั้ง Chlorophyll และ nitrogenane enzyme สามารถสังเคราะห์แสง ตรึงไนโตรเจนได้ เปลี่ยนวัตถุดินที่มีอยู่ในอากาศมาเป็น organic matter และเมื่อสลายตัวลงก็จะปลดปล่อยสารประกอบนี้ให้กับพืชที่ปลูกตามมาได้ นับว่าเป็นแหล่งผลิตปุ๋ยที่มีราคาถูกมาก สาหร่ายสีเขียว
19
ตัวอย่างสัตว์ Prokaryotic cells
เป็นโปรโตซัวเช่นเดียวกับอะมีบา แต่มีขนสั้นอยู่รอบเซลล์ช่วยในการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว เซลล์มีรูปร่างคล้ายรองเท้าแตะ ด้านข้างมีร่องปาก สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบไม่อาศัยเพศและอาศัยเพศพบอยู่ทั่วไปในแหล่งน้ำจืดนับเป็นโพรโตซัวที่มีอยู่มากอีกชนิดหนึ่ง พารามีเซียม
20
ตัวอย่างสัตว์ Prokaryotic cells
เทาน้ำเป็นสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นสาหร่ายไม่แตกแขนงแต่ละสายประกอบด้วยเซลล์เพียงแถวเดียว ภายในเซลล์มีคลอโรพลาสเป็นเกลียวในภาพเป็นเทาน้ำ 2 สายจับคู่เพื่อสืบพันธ์แบบอาศัยเพศ โดยมีการปล่อยสารพันธุกรรมเข้าร่วมกับอีกสายหนึ่งพบอยู่ในแหล่งน้ำจืด เทาน้ำหรือสไปโรไจรา
21
ชนิดของเซลล์ 2. Ukaryotic cells ได้แก่ เห็ด รา เซลล์ของพืช และสัตว์ทั่วๆไป มีขนาด ไมโครเมตร
22
ตัวอย่าง Ukaryotic cells
โปรติสตาที่ประกอบขึ้นด้วยสาหร่ายและราอยู่ร่วมกัน ซึ่งเป็นการอยู่แบบที่สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิดต่างก็ได้รับประโยชน์ โดยสาหร่ายสามารถใช้สังเคราะห์แสง สร้างอาหารได้ ส่วนราดูดซึมความร้อนได้ แต่ก็ไม่สารารถสังเคราะห์แสงได้ ราจึงต้องการอาหารจากสาหร่าย และสาหร่ายต้องการความชื้นจากรา เห็ดรา(ไลเคนส์)
23
ตัวอย่าง Ukaryotic cells
กบ เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่มีผิวหนังค่อนข้างขรุขระหรือเป็นเส้นยาว มีสีออกสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาล เขียว มักอยู่ในบริเวณที่ลุ่มน้ำขัง เช่น ในท้องนา หนองบึง ซึ่งได้แก่ กบนา กบหนอง กบทูต และกบอกหนาม กบ เขียด
24
ตัวอย่าง Ukaryotic cells
เซลล์สัตว์
25
ตัวอย่าง Ukaryotic cells
เซลล์พืช
26
ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
27
ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
ลักษณะ เซลล์โปรคาริโอต เซลล์ยูคาริโอต 1. กลุ่มสิ่งมีชีวิต แบคทีเรีย, สาหร่ายสีเขียว แกมน้ำเงิน (ไซยาโนแบคทีเรีย) สาหร่าย, รา, โปรโตซัว, พืช, สัตว์ 2. ขนาด 1-2 ไมโครเมตร x 1-4 ไมโครเมตร หรือเล็กกว่านี้ เส้นผ่านศูนย์กลาง มากกว่า 5 ไมโครเมตร 3. โครงสร้างนิวเคลียส ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส, มีโครโมโซม เป็นวงกลมเส้นเดียว, โครโมโซม ไม่มีฮีสโตน ไม่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโตซิส มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส, มีโครโมโซมมากกว่า 1 เส้น, ฮีสโตน มีการแบ่งนิวเคลียส แบบไมโตซิส 4. การไหลเวียน ของไซโทพลาสซึม ไม่มี มี 5. ฟิโนไซโตซิส ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
28
ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
6. แวคิวโอ มีในบางพวก ไม่มี 7. มีโซโซม มี 8. ไรโบโซม 70 S กระจายในไซโทพลาสซึม 80 S เกาะตามเยื่อหุ้ม เช่น ER, 70 S ในไมโตคอน เดรีย และคลอโรพลาสต์ 9. ไมโตคอนเดรีย 10. คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์บางชนิด
29
ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
11. กอลจิบอดี ไม่มี มี 12. เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม 13. แวคิวโอที่มีเยื่อหุ้ม 14. เยื่อหุ้มเซลล์ โดยทั่วไปไม่มีสเตอรอล เป็นองต์ประกอบ, บางส่วนทำหน้าที่ เกี่ยวกับการหายใจ, เซลล์บางชนิด ทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง มีสเตอรอลเป็นองค์ประกอบ, ไม่ทำหน้าที่หายใจ และสังเคราะห์แสง 15. ผนังเซลล์ ประกอบด้วย เปปติโดไกลแคน (มิวรีน หรือมิวโคเปปไทด์) ยกเว้น ไมโครพลาสมา ไม่มี เปปติโดไกลแคน เป็นองค์ประกอบ, ราส่วนใหญ่มีไคติน, พืชส่วนใหญ่มีเซลล์ลูโลส, สัตว์ไม่มี
30
ข้อแตกต่างระหว่างยูคาริโอตและโปรคาริโอต
16. อวัยวะในการเคลื่อนที่ เส้นใยไฟบริลสานกันง่ายๆ ประกอบด้วย แฟลกเจลลิน (flagelin) ประกอบด้วยไมโครทิวบูล มาเรียงกันในลักษณะ 9+2 17. เท้าเทียม ไม่มี เซลล์บางชนิดมี 18. อัตราส่วนของเบส ของ DNA เมื่อเทียบเป็นโมล % ของเบส กวานีน+ไซโตซีน (G+C%) 28-73 ประมาณ 40
31
ขนาดของเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดแตกต่างกันมาก ตั้งแต่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น เซลล์ของพวกแบคทีเรีย ไปจนกระทั่งเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ สามารถมองเห็นได้ชัดเจน เช่นเซลล์ของไข่พวกสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน หน่วยที่ใช้วัดขนาดของเซลล์ที่มีหลายชนิด เช่น อังสตรอม (Angstrom ) นาโนเมตร (Nanometer:nm) ไมโครเมตร (Micrometer : mm) และมิลลิเมตร (millimeter : mm) ซึ่งแต่ละหน่วยสามารถเปรียบเทียบได้
32
ตารางแสดงการเปรียบเทียบหน่วยที่ใช้วัดขนาดของเซลล์
อังสตรอม นาโนเมตร ไมโครเมตร มิลลิเมตร 1 0.1 0.0001 10 1.0 0.001 10,000 1,000 10,000,000 1,000,000
33
ตัวอย่างขนาดของเซลล์
34
ตัวอย่างขนาดของเซลล์
35
ตัวอย่างขนาดรูปร่างของเซลล์
เซลล์ประสาท เป็นโครงสร้างทั่วร่างกาย และการทำหน้าที่ของระบบประสาท ขนาดของเซลล์ประสาทโดยทั่วไป มีเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวเซลล์แค่ 0.1 มิลลิเมตรโดยประมาณ แต่ใยประสาทมีความยาวได้หลายเมตร เซลล์ประสาท
36
ตัวอย่างขนาดรูปร่างของเซลล์
มีขนาดประมาณ 6-8ไมครอน มีลักษณะค่อนข้างกลม เว้าบริเวณกลางคล้ายโดนัท ไม่มี นิวเคลียส มีสีแดง เนื่องจากภายในมีสารฮีโมโกลบิน โดยในกระแสเลือดคนปกติจะพบเม็ดเลือดแดงที่เจริญเติบโตเต็มที่ (Mature red cell) มีเพียงไม่เกิน 2% ที่สามารถพบเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (Reticulocyte) ได้ เซลล์เม็ดเลือดแดง
37
ตัวอย่างขนาดรูปร่างของเซลล์
เซลล์อสุจิ (sperm) เป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย ทำหน้าที่ สร้างอสุจิ และสร้างฮอร์โมนเพศชายควบคุมลักษณะต่างๆของเพศชาย เช่น เสียงห้าว มีหนวดเครา มีขนหน้าแข้ง เซลล์อสุจิ
38
ตัวอย่างขนาดรูปร่างของเซลล์
เยื่อบุผิวเรียงตัวชั้นเดียว (simple epithelium) ประกอบด้วยเซลล์รูปร่าง 3 แบบ คือ เซลล์รูปร่างแบนบาง (simple spuamous epithelium) เช่น พบที่ท่อของหลอดไต ทำน้ำดี และเซลล์ทรงสูง (simple columnar epithelium) เช่น พบที่ผนังลำไส้เล็ก ท่อนำไข่ เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
39
ตัวอย่างขนาดรูปร่างของเซลล์
เซลล์กล้ามเนื้อมีรูปร่างพิเศษอาจเป็นเส้นใยทรงกระบอกยาว ( fiber shape) หรือรูปกระสวยยาว ( spindle shape) มีการจัดตัวกันแน่นวางตัวขนานกัน รวมตัวเป็นมัด ทำหน้าที่แตกต่างจากเซลล์ทั่วๆ ไป เซลล์กล้ามเนื้อ กายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 2 โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 239 หน้า
40
ส่วนประกอบของเซลล์ Cell Structure
41
เซลล์พืช ไซโทพลาสซึม ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล นิวเคลียส
นิวคลีโอลัส ไรโบโซม คลอโรพลาสต์ กอลจิ บอร์ดี้ ไมโทคอนเดรีย
42
เซลล์สัตว์
43
โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ 2. ไซโทพลาสซึม 3. นิวเคลียส
44
โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ (Cell Structure) เมื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างภายในภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน สามารถมองเป็นได้จัดเจนทำให้เห้นส่วนประกอบในส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ในนิวเคลียส กับไซโทพลาสซึม
45
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์(Cell Structure)
1.1 เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane ,plasma membrane)
46
1.1 เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane ,plasma membrane)
ลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ เหนียวล้อมรอบเซลล์ ประกอบด้วยสารประเภทไขมันและโปรตีนมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) หน้าที่ - ห่อหุ้มส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเซลล์ - ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้า-ออกจากเซลล์ เช่น อาหาร อากาศ สารละลายเกลือแร่ต่างๆ
47
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ (Cell Structure)
1.2 ผนังเซลล์ (cell wall)
48
1.2 ผนังเซลล์ ( cell wall ) ลักษณะ
อยู่นอกสุด พบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้นส่วนใหญ่เป็นสารพวกเซลลูโลส ซึ่งสร้างมาจากน้ำตาล หน้าที่ - ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงและป้องกันอันตรายให้แก่ เซลล์พืช - ทำให้เซลล์พืชคงรูปอยู่ได้ ( เซลล์สัตว์ไม่มี )
49
2.ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
ลักษณะ เป็นของเหลว มีความข้นโปร่งแสง ประกอบด้วย น้ำประมาณ 75 – 90 % ที่เหลือเป็นสารชนิดอื่น เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรท ไขมัน และสารอนินทรีย์ที่อยู่ในรูปสารละลาย ส่วนสารอินทรีย์ มักอยู่ในรูปของคอลลอยด์ (colloid)
50
2.ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
ประกอบด้วย ออร์แกนเนลต่าง ๆ มากมาย เช่น ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ กอลจิบอดี ไรโบโซม แวคิวโอล สารอาหารต่าง ๆ ได้แก่ โปรตีน ไขมัน น้ำตาล แก๊ส รวมทั้งของเสีย แต่ไม่รวมนิวเคลียส
51
2.ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
หน้าที่ - เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมีของเซลล์ - เป็นที่เก็บสะสมวัตถุดิบสำหรับเซลล์ - สังเคราะห์สารที่จำเป็นสำหรับเซลล์ - เกี่ยวข้องกับกระบวนการขับถ่ายของเสียของเซลล์ - สลายวัตถุดิบเพื่อให้ได้พลังงานและสิ่งที่จำเป็นสำหรับเซลล์
52
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม
2.1ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
53
2.1ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
ลักษณะ มีลักษณะก้อนกลมหรือก้อนรีและยืดหยุ่นได้ มีความยาวแตกต่างกันไป มีจำนวนไม่เท่ากันใน แต่ละเซลล์ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของเซลล์นั้น หน้าที่ เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์
54
2.1ไมโทคอนเดรีย (mitochondria)
หน้าที่ 1. สร้างสารให้พลังงานสูง คือ ATP (Adenosine triphosphate) โดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ เยื่อหุ้มด้านนอก ทำหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างสารประกอบ ฟอสโฟลิปิด 2. เยื่อหุ้มด้านใน มีเอนไซม์เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ATP 2. ภายในเมทริกซ์มีของเหลว ที่ทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับปฏิกิริยาเคมี ต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ ( Krebs cycle) 3. มี DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid) เอนไซม์ และ ไรโบโซมอยู่ภายในออร์แกเนลล์ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนขึ้น ภายในออร์แกเนลล์
55
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม
2.2 คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)
56
2.2 คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)
ลักษณะ เป็นโครงสร้างที่พบในพืชและสาหร่าย มีลักษณะเป็นเม็ดกลมรีภายในมีสารสีเขียวเรียกว่า คลอโรฟิลล์ ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช หน้าที่
57
2.2 คลอโรพลาสต์ (chloroplasts)
ลักษณะ เป็นพลาสติดที่มีสีเขียวเนื่องจากมีสารคลอโรฟิลล์ เป็นองค์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่งสร้างอาหารของเซลล์พืชและโพรทิสต์บางชนิด ภายในคลอโรพลาสต์มีโครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้มเรียกว่า ไทลาคอยด์(thylakoid) และไทลาคอยด์เรียงซ้อนกันเรียกว่า กรานุม(granum) แต่ละกรานุมมีโครงสร้างเชื่อมต่อถึงกัน บนไทราคอยด์มีสารสีที่ใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง เช่น คลอโรฟิลล์ แคโรทีนอยด์(carotenoid) และมีของเหลวที่เรียกว่า สโตรมา(stroma) อยู่โดยรอบไทลาคอยด์ ในของเหลวนี้มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะด้วยแสง
58
2.3 กอลจิบอดี, กอลจิคอมแพล็กซ์
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม 2.3 กอลจิบอดี, กอลจิคอมแพล็กซ์ (golgi body, golgi complex )
59
2.3 กอลจิบอดี,กอลจิคอมเพล็กซ์ (golgi body,golgi complex)
ลักษณะ ประกอบด้วยถุงเยื่อบาง ๆ เรียงซ้อนกันเป็นกลุ่มของถุงกลมแบนขนาดใหญ่ บริเวณตรงขอบโป่งพองใหญ่ขึ้น มักพบอยู่ใกล้กับ ER มีในเซลล์พืชและสัตว์ชั้นสูงเกือบทุกชนิด
60
2.3 กอลจิบอดี, กอลจิคอมเพล็กซ์ (golgi body)
ลักษณะ ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือแดงที่โตเต็มที่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทำหน้าที่เติมกลุ่มคาร์โบไฮเดรต ให้กับโปรตีนหรือลิพิดที่ส่งมาจาก ER เกิดเป็นไกลโคโปรตีน และไกลโคลิพิด แล้วสร้างเวสิเคิลบรรจุสารเหล่านี้ไว้ เพื่อส่งออกไปภายนอกเซลล์ หน้าที่ เก็บสารที่ร่างแหเอนโดพลาสมิคสร้างขึ้นสะสมฮอร์โมน เอนไซม์ และสารอื่น ๆ
61
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม
2.4 ไรโบโซม (Ribosome)
62
2.4 ไรโบโซม (Ribosome) ลักษณะ หน้าที่
เป็นออร์แกแนลล์ขนาดเล็กที่ไม่มีเยื่อหุ้ม รูปร่างเป็นก้อน ประกอบด้วยโปรตีนและ RNA สัดส่วนเท่ากันโดยน้ำหนัก หน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วยคือ หน่วยย่อยขนาดเล็กและหน่วยย่อยขนาดใหญ่ หน่วยย่อยทั้งสองชนิดของไรโบโซมอยู่แยกกัน และจะประกอบติดกันขณะที่มีการสังเคราะห์โปรตีน
63
2.4 ไรโบโซม (Ribosome) หน้าที่
ไรโบโซมที่เกาะอยู่ที่ผิวนอกของ RER ทำหน้าที่เป็นแหล่งสร้างโปรตีน ที่ใช้เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ และส่งออกนอกเซลล์ นอกจากนี้ยังมีไรโบโซมอิสระที่ไม่เกาะอยู่กับ ER กระจายอยู่ในไซโทซอล ทำหน้าที่สร้างโปรตีนสำหรับใช้ภายในเซลล์ พบมากในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่มีอายุน้อย ทำหน้าที่สร้างฮีโมโกบิน
64
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม
2.5 ไรโซโซม (Risosome)
65
2.5 ไลโซโซม (Risosome) ลักษณะ
ไลโซโซม เป็นเวสิเคิลที่สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีลักษณะเป็นถุงกลมมีเยื่อหุ้มชั้นเดียว ไม่พบในเซลล์พืช แต่พบในเซลล์สัตว์เกือบทุกชนิด
66
2.5 ไลโซโซม (Risosome) หน้าที่
มีเอนไซม์สำหรับย่อยอาหาร ด้วยจะไปรวมกับเวสิเคิลหรือแวคิวโอที่มีอาหารอยู่ภายใน นอกจากนี้ไลโซโซมของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ยังมีเอนไซม์ทำลายสิ่งแปลกปลอม โดยไปรวมกับเวสิเคิลที่มีสารแปลกปลอม เมื่อเซลล์เสื่อมสภาพ ไลโซโซมมีหน้าที่ทำลายออร์แกแนลล์ในเซลล์ เมื่อเซลล์ได้รับอันตรายหรือจะตาย ไลโซโซมจะปล่อยเอนไซม์ออกมาสู่ ไซโตพลาสซึมเพื่อสลายเซลล์ทั้งหมด
67
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม
2.6 แวคิวโอล (Vacuole)
68
มีลักษณะเป็นถุงใส ภายในมีของเหลวเรียกว่า น้ำเลี้ยงเซลล์
2.6 แวคิวโอล (Vacuole) ลักษณะ มีลักษณะเป็นถุงใส ภายในมีของเหลวเรียกว่า น้ำเลี้ยงเซลล์ ในเซลล์พืชทั่วไปมักมีแวคิวโอลขนาดใหญ่
69
ลักษณะ 2.6 แวคิวโอล (Vacuole)
แวคิวโอลมีหลายชนิดทำหน้าที่แตกต่างกันไป คือ 1. คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล(contractile vacuole) ทำหน้าที่รักษาสมดุลของน้ำ พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม เป็นต้น 2. ฟูดแวคิวโอล(food vacuole) ทำหน้าที่บรรจุอาหารที่รับมาจากภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลายต่อไป พบในเซลล์เม็ดเลือดขาวและสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 3. แซบแวคิวโอล(sap vacuole) เป็นแวคิวโอลที่พบในเซลล์พืช ขณะที่เซลล์พืชอายุน้อยมีแวคิวโอลขนาดเล็กจำนวนมาก แต่เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้นแวคิวโอลเหล่านี้จะรวมเป็นถุงเดียวกันทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่สะสมสารบางชนิด เช่น สารอออน น้ำตาล กรดอะมิโน ผลึกและสารพิษต่างๆ
70
ควบคุมปริมาณน้ำในเซลล์ เก็บอาหารและของเสียก่อนถูกขับออก
2.6 แวคิวโอล (Vacuole) หน้าที่ ควบคุมปริมาณน้ำในเซลล์ เก็บอาหารและของเสียก่อนถูกขับออก นอกเซลล์ ในอะมีบา พารามีเซียม มีแวคิวโอลทำหน้าที่รับสารซึ่งเป็นของเสียปนอยู่แล้วกำจัดออกนอกเซลล์
71
2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม 2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum:ER)
72
2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม
2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum:ER) ลักษณะ เป็นท่อแบนใหญ่ บางบริเวณโป่งออกเป็นถุงเรียงขนานและเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆภายในมีของเหลวบรรจุอยู่และมีท่อเชื่อมถึงกันเป็นร่างแหอยู่ล้อมรอบนิวเคลียสและเชื่อมกับเยื่อหุ้มนิวเคลียสที่ผิวนอกของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม Biological_cell.svg แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
73
2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม
2.7. ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum:ER) ลักษณะ(ต่อ) บางบริเวณมีไรโบโซมเกาะอยู่ทำให้มองดูคล้ายผิวขรุขระ เรียกว่า เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ(Rough Endoplasmic RER ) บางบริเวณไม่มีไรโบโซมเกาะอยู่ เรียกว่า เอนโดรพลาสมิกเรติคู-ลัมแบบผิวเรียบ ER ทั้งสองชนิดมีท่อเชื่อมติดต่อกัน แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
74
2.7.1 ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ
(Endoplasmic reticulum:ER) ลักษณะ/หน้าที่ พบมากในเซลล ์ที่มีหน้าที่กำจัดสารพิษ และสร้างสารสเตอรอยด์ จึงพบในเซลล์ที่ต่อมหมวกไต ในอัณฑะ เซลล์รังไข่ และในเซลล์ของตับ และยังทำหน้าที่ คือ ลำเลียงสารต่างๆ เช่น RNA ลิพิด โปรตีน เนื่องจากผนังของ ER ยอมให้สารประกอบโมเลกุลใหญ่บางชนิด รวมทั้ง ลิปิด เอนไซม์ และโปรตียผ่านเข้าออกได้ จึงเป็นทางผ่านของสาร และเกลือแร่เข้าไปกระจายทั่วเซลล์ รวมทั้งสารต่างๆ ยังอาจสะสมไว้ใน ER อีกด้วย และการขับของเสีย ออกจากเซลล์ โดยผ่านทาง ER เรียกว่า เอกโซไซโทซิส (exocytosis) แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
75
2.7.2 ร่างแหเอ็นโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic RER )
ลักษณะ/หน้าที่ เป็นบริเวณที่ไรโบโซมสังเคราะห์จะบรรจุอยู่ในเวสิเคิล และมีการลำเลียงส่งออกไปนอกเซลล์ หรือส่งต่อไปยังกอลจิคอมเพล็กซ์ หรือไปเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นต้น เช่น เซลล์ตับอ่อนที่ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์ย่อยสารอาหารต่างๆ Biological_cell.svg แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
76
2.8 เซนทริโอล (centriole)
2. ส่วนที่อยู่ในไซโทพลาสซึม 2.8 เซนทริโอล (centriole)
77
2.8 เซนทริโอล (centriole)
ลักษณะ เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบในเซลล์สัตว์และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไม่พบในเซลล์พืชและพวกเห็ดรา เป็นบริเวณที่ยึดเส้นใยสปินเดิลช่วยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซม และแยกโครมาติดแต่ละคู่ออกจากกัน เซนทริโอลพบอยู่โดยวางตั้งฉากกัน Biological_cell.svg แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
78
2.8 เซนทริโอล (centriole)
ลักษณะ อยู่ใกล้ๆกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส เซนทริโอลแต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็กๆเรียกว่า ไมโครทิวบลู(microtubule) เรียงตัวกันเป็นกลุ่มๆกลุ่มละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเชื่อมต่อกันเป็นแท่งทรงกระบอก บริเวณไซโตรพลาซึมที่อยู่ล้อมรอบเซนทริโอลแต่ละคู่เรียกว่า เซนโทรโซม(centrosome) ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดเส้นใยสปินเดิล Biological_cell.svg แหล่งข้อมูล Biological_cell.svg
79
3.นิวเคลียส
80
3.นิวเคลียส (Nucleus) ลักษณะ
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ มีลักษณะค่อนข้างกลม ภายในของเหลวมีนิวคลีโอลัส และโครมาตินโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ตรงกลางเซลล์ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุม กิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ถูกควบคุมโดยคำสั่งจากนิวเคลียส
81
3.นิวเคลียส (Nucleus) หน้าที่
1. เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของเซลล์ 2. เป็นแหล่งสังเคราะห์ DNA และ RNA 3. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ 4. ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากบรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน แหล่งข้อมูล
82
3.2 นิวคลีโอพลาซึม ( nucleoplasm )
โครงสร้างของนิวเคลียสประกอบด้วย 3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane) 3.2 นิวคลีโอพลาซึม ( nucleoplasm ) 3.3 นิวคลีโอลัส (Nucleous)
83
3.1 เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane)
ลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกว่า นิวเคลียร์พอร์ (nuclear pore) หรือ แอนนูลัส (annulus) มากมาย รูเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของสารต่างๆ ระหว่างไซโทพลาซึมและนิวเคลียส นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่านเช่นเดียวกับเยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียสชั้นนอกจะติดต่อกับเอนโดพลาสมิก เรติคูลัม และมีไรโบโซมมาเกาะเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารต่าง ๆ ระหว่างนิวเคลียสและไซโทพลาซึมด้วย
84
3.2 นิวคลีโอพลาซึม ( nucleoplasm )
คือส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส ประกอบด้วย - นิวคลิโอลัส ( Nucleolus ) เป็นแหล่งสังเคราะห์และรวบรวม - กรดไรโบนิวคลีอิค ( ribonucleic acid ) เรียกย่อว่า RNA ทำหน้าที่นำคำสั่งจากนิวเคลียสไปยังเซลล์ส่วนอื่นๆ และสร้างไรโบโซมเพื่อไปทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน - โครมาติน ( Chromatin ) คือร่างแหโครโมโซม แหล่งข้อมูล
85
3.3 นิวคลีโอลัส (Nucleous)
3.นิวคลีโอลัส (nucleolus) เป็นส่วนของนิวเคลียสที่มีลักษณะเป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ พบเฉพาะเซลล์ของพวกยูคาริโอตเท่านั้น เซลล์อสุจิ เซลล์เม็ดเลือดแดงที่เจริญเต็มที่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ไฟเบอร์ของกล้ามเนื้อจะไม่มีนิวคลีโอลัส แหล่งข้อมูล
86
3.3 นิวคลีโอลัส (Nucleous)
ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน (Phosphoprotein) และไม่พบโปรตีนฮีสโตนเลย ในเซลล์ที่มีกิจกรรมสูงจะมีนิวคลีโอลัสขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์ที่มีกิจกรรมต่ำจะมี นิวคลีโอลัสขนาดเล็ก นิวคลีโอลัสมีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่าง ๆ และถูกนำออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป ดังนั้นนิวคลีโอลัสจึงมีความสำคัญต่อการสร้างโปรตีนเป็นอย่างมาก เนื่องจากไรโบโซมทำหน้าที่สร้างโปรตีน แหล่งข้อมูล
87
ข้อแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แหล่งข้อมูล
88
ข้อแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืช เซลล์สัตว์ มีรูปร่างเป็นเหลี่ยม มีรูปร่างกลมหรือรี มีผนังเซลล์อยู่ด้านนอก ไม่มีผนังเซลล์ แต่มีสารเคลือบ ด้านนอก มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ ไม่มีคลอโรพลาสต์ แวคิวโอลขนาดใหญ่ แวคิวโอลขนาดเล็ก ไม่มีไลโซโซม มีไลโซโซม แหล่งข้อมูล
89
เซลล์สัตว์
90
เซลล์สัตว์
91
ระบบอวัยวะ อวัยวะ เนื้อเยื่อ สิ่งมีชีวิต เซลล์
92
กลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่าง ลักษณะขนาดใกล้เคียงกัน ทำหน้าที่ร่วมกัน
เนื้อเยื่อ อวัยวะ กลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทำงานร่วมกัน ระบบอวัยวะ กลุ่มของอวัยวะที่ทำงานร่วมกัน
93
ใบงาน คำสั่ง ให้เรียนเติมข้อความลงในกรอบให้ตรงกับรูปภาพ 2 3 9 1 10 11
12 4 5 13 6 14 7 15 8
94
เรื่อง รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์
กิจกรรม เรื่อง รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์ เซลล์เยื่อหอม
95
เรื่อง รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์
กิจกรรม เรื่อง รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์ 1. จุดประสงค์ 1.สังเกตส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 2.สามารถเตรียมสไลด์ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 3.บอกความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 4.ใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
96
2. อุปกรณ์ 1.กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง 2.กระจกสไลด์ 3 อัน
2. อุปกรณ์ 1.กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง 2.กระจกสไลด์ 3 อัน 3.กระจกปิดสไลด์ 3 อัน 4.หลอดหยด 1 อัน 5.มีดโกน 1 ใบ 6.บิกเกอร์ขนาด 100 cm3 1 ใบ
97
10.สาหร่ายหางกระรอก หัวหอม ใบว่านกาบหอย 11.สำลีพันปลายไม้
2. อุปกรณ์(ต่อ) 7.น้ำ cm3 8.สารละลายไอโอดีน 9.สารละลายเมทิลีนบลู 10.สาหร่ายหางกระรอก หัวหอม ใบว่านกาบหอย 11.สำลีพันปลายไม้
98
3.1 เซลล์สาหร่ายหางกระรอก
3.วิธีทำ 3.1 เซลล์สาหร่ายหางกระรอก 1.เตรียมเซลล์เยื่อหอมโดยใช้ใบมีดโกนค่อยๆลอกเยื่อด้านในของใบ ส่วนที่เป็นหัวซึ่งมีสีขาว แล้วใช้ใบมีดโกนตัดให้มีขนาดประมาณ 0.5 cm x 0.5 cm และหยดสารละลายไอโอดีนลงไป 2 หยด 2. ปฎิบัติการเช่นเดียวกับข้อ 4-5
99
3.วิธีทำ (ต่อ) 4.นำสไลด์ที่เตรียมเสร็จแล้วไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ปรับภาพ ให้ชัดเจน 5.วาดรูปเซลล์สาหร่ายหางกระรอก
100
3.2 เซลล์ใบว่านกาบหอย 1. เตรียมใบว่านกาบหอย โดยนำใบว่านกาบหอยมาฉีกด้านในหลังใบซึ่งมีสีม่วงให้ได้เยื่อบางๆ แล้วใช้ใบมีดโกนตัดให้มีขนาด0.5 cm x 0.5 cm 2. ปฎิบัติการเช่นเดียวกับข้อ 4-5
101
3.3 เยื่อบุข้างแก้ม 1. เตรียมลำสีพันปลายไม้ใช้ปลายข้างที่พันสำลีถูข้างแก้มด้านในเบาๆ 2. ป้ายสำลีบนแผ่นสไลด์ หยดสารลายเมทิลีนบลูบริเวณที่ป้ายสำลีไว้ และค่อยๆปิดทับด้วยกระจกสไลด์ 3. ปฎิบัติการเช่นเดียวกับข้อ 4-5
102
4. ตารางบันทึกผลการทดลอง
103
5. สรุปผลการทดลอง
104
เฉลยผลการทดลอง สาหร่ายหางกระรอก เซลล์สาหร่ายหางกระรอก
105
เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
เฉลยผลการทดลอง เซลล์คุม เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
106
เฉลยผลการทดลอง ว่านกาบหอย
107
เรื่อง ผลัดกันถามผลัดกันตอบ
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ผลัดกันถามผลัดกันตอบ จุดประสงค์ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
108
คำสั่ง ให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนถาม – ตอบเกี่ยวกับลักษณะของเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์ โดยสลับกับเพื่อนเป็นคนตั้งคำถาม และตอบคำถามลงในตารางข้างล่างนี้
109
คนที่ 1 คนที่ 2 1.คำถาม 2.ตอบ 2.ตอบ 2.คำถาม 3.คำถาม 3.ตอบ 4.ตอบ 4.คำถาม
110
กิจกรรม เรื่อง คนค้นพบเซลล์ 1. จุดประสงค์
1. เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวเรื่องเซลล์ 2. เพื่อศึกษาโครงสร้างภายในและภายนอกของสัตว์ เซลล์เดียว
111
2. วิธีทำ 1.ให้นักเรียนศึการูปเซลล์สัตว์เซลล์เดียวจากสไลด์สำเร็จรูปด้วยกล้องจุลทรรศน์ 2. บันทึกและวาดภาพที่สังเกตเห็นจากกล้องจุลทรรศน์
112
3. ตารางบันทึกผล เซลล์ ลักษณะที่สังเกต เซลล์อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา
113
คำถาม 1. ให้นักเรียนวาดภาพสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวคนละ 1 ชนิด พร้อมทั้งชี้ส่วนประกอบต่างๆภายในเซลล์ให้ถุกต้อง
114
คำถาม 2. จงวาดภาพรูปเซลล์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้และชี้บ่งส่วนประกอบ 2.1
รูปเซลล์กล้ามเนื้อ
115
คำถาม 2. จงวาดภาพรูปเซลล์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้และชี้บ่งส่วนประกอบ 2.2
รูปอะมีบา
116
คำถาม 2. จงวาดภาพรูปเซลล์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้และชี้บ่งส่วนประกอบ 2.3
รูปเซลล์ประสาท
117
คำถาม 2.4 ยูกลีนาเป็นสิ่งมีชีวิตประเภท เคลื่อนที่โดย
118
คำถาม 2.5 โครงสร้างที่พบในเซลล์พืชแต่ในเซลล์สัตว์ไม่พบคือ
2.6 นิวเคลียสทำหน้าที่อะไร
119
คำถาม 2.7 เยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะและทำหน้าที่.......................
2.7 เยื่อหุ้มเซลล์มีลักษณะและทำหน้าที่
120
คำถาม 3. จงจับคู่ลักษณะการทำงานของเซลล์ต่อไปนี้
3. จงจับคู่ลักษณะการทำงานของเซลล์ต่อไปนี้ ดูดซึมปุ๋ยและน้ำเข้าสู่รากและลำต้น ส่งความรู้สึกเจ็บจากปลายนิ้ว ทำให้แขนและขาเกิดการเคลื่อนไหว เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เมื่อมีแสงสามารถสร้างน้ำตาลกลูโคส ....1.เซลล์พาลิเสด เซลล์ประสาท เซลล์ขนราก เซลล์กล้ามเนื้อ เซลลือะมีบา ***********************
121
เรื่อง น้ำในบ่อหนึ่งหยด
กิจกรรม เรื่อง น้ำในบ่อหนึ่งหยด 1.คำชี้แจง กิจกรรมน้ำในบ่อหนึ่งหยดเป็นกิจกรรมที่ต้องการให้นักเรียนได้ฝึกปฎิบัติจริง โดยแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5-6 คน แล้วแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนไปตักน้ำรอบๆบริเวณโรงเรียนโดยครูเป็นผู้พาไปกลุ่มละ 20 cm3 แล้วนำมาส่งดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ (ซึ่งนักเรียนที่เหลือได้เตรียมไว้)
122
2. จุดประสงค์ เพื่อศึกษาสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวในบ่อน้ำรอบโรงเรียน
เพื่อศึกษาการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวในน้ำ บอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและวาดภาพชี้ส่วนประกอบได้
123
3. อุปกรณ์ กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 1 ชุด
กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 1 ชุด บิกเกอร์ขนาด 50 cm3 1 ใบ หลอดหยด 1 อัน น้ำจากบ่อ cm3 แบบบันทึกกิจกรรมชุดที่ 1
124
4. วิธีทำ ตักน้ำจากบ่อหรือสระรอบๆบริเวณโรงเรียน 20 cm3 แล้วนำมาหยดลงบนกระจกสไลด์ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ นำไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตและบันทึกกิจกรรม นักเรียนส่งตัวแทนออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
125
5. บันทึกกิจกรรม
126
6. คำถาม 1. นักเรียนพบสิ่งมีชีวิตหรือไม่ ถ้าพบมีลักษณะอย่างไร 2. สิ่งมีชีวิตที่นักเรียนพบเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์หรือหลายเซลล์ เรียกว่าอะไร 3.มีนักเรียนกลุ่มอื่นพบสิ่งมีชีวิตเหมือนกับนักเรียนหรือไม่......
127
7. สรุปผลกิจกรรม ****************************
128
แบบฝึกหัด 1. ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต คือข้อใด 1. ต้องการอาหาร
1. ต้องการอาหาร 2. สามารถเจริญเติบโตได้ 3. สืบพันธุ์หรือขยายพันธุ์ได้ 4. ถูกทุกข้อ
129
แบบฝึกหัด 2. ข้อใดเป็นสิ่งมีชีวิต 1. ก้อนหิน 2. ซากพืช
1. ก้อนหิน 2. ซากพืช 3. สาหร่ายหางกระรอก 4. ซากสัตว์
130
แบบฝึกหัด 1. พืชต้องการอาหาร 2. พืชเคลื่อนไหวได้
3. พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต่างไปจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในข้อใด 1. พืชต้องการอาหาร 2. พืชเคลื่อนไหวได้ 3. พืชเจริญเติบโตได้ไม่จำกัด 4. พืชสร้างอาหารได้เอง
131
แบบฝึกหัด 4. หน่วยชีวิตเล็ก ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของพืชทุกชนิด
หมายถึงข้อใด 1. คลอโรพลาสต์ 2. เซลล์ 3. ไซโทพลาสซึม 4. ผนังเซลล์
132
แบบฝึกหัด 5. เยื่อหุ้มเซลล์พบได้ ในข้อใด 1. เฉพาะในเซลล์พืช
5. เยื่อหุ้มเซลล์พบได้ ในข้อใด 1. เฉพาะในเซลล์พืช 2. เฉพาะในเซลล์สัตว์ 3. ทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 4. เฉพาะเซลล์พืชและเซลล์สัตว์บางชนิด
133
แบบฝึกหัด 6. องค์ประกอบใดที่พบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น
6. องค์ประกอบใดที่พบเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น 1. เม็ดคลอโรพลาสต์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. ผนังเซลล์ 4. เม็ดคลอโรพลาสต์และผนังเซลล์
134
แบบฝึกหัด 7.เซลล์จากโครงสร้างของพืชที่มีคลอโรพลาสต์อยู่มากที่สุดคือ
ข้อใด 1. ใบ 2. ลำต้น 3. ราก 4. ผล
135
แบบฝึกหัด 8. ส่วนประกอบของเซลล์ในข้อใดที่ไม่ได้อยู่ในไซโทพลาสซึม
1. เยื่อหุ้มเซลล์ 2. เม็ดคลอโรพลาสต์ 3. นิวเคลียส 4. คลอโรฟิลล์
136
แบบฝึกหัด 9. ส่วนประกอบใดของเซลล์ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเซลล์และควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ไปสู่ลูกหลาน 1. คลอโรฟิลล์ 2. นิวเคลียส 3. ผนังเซลล์ 4. ไซโทพลาสซึม
137
แบบฝึกหัด 10. คลอโรฟิลล์ที่อยู่ภายในเม็ดคลอโรพลาสต์ เป็นปัจจัยที่สำคัญ
ในกระบวนการใดของพืช 1. กระบวนการหายใจ 2. กระบวนการสืบพันธุ์ 3. กระบวนการสร้างอาหาร 4. กระบวนการคายน้ำ
138
แบบฝึกหัด 11. ส่วนใดของพืชที่เป็นทางผ่านเข้าออกของสารละลายหรือ
แก๊สต่าง ๆ 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไซโทพลาสซึม
139
12. องค์ประกอบของเซลล์หมายเลขใดที่พบเฉพาะในเซลล์พืช
แบบฝึกหัด 12. องค์ประกอบของเซลล์หมายเลขใดที่พบเฉพาะในเซลล์พืช 1. ( 2 ) กับ ( 5 ) 2. ( 1 ) กับ ( 3 ) 3. ( 1 ) กับ ( 2 ) 4. ( 3 ) กับ ( 4 )
140
แบบฝึกหัด 13. หมายเลขใดเป็นองค์ประกอบที่สร้างความแข็งแรงให้กับเซลล์
1. ( 1 ) ( 2 ) 3. ( 3 ) ( 5 ) 14. หมายเลขใดเป็นที่อยู่ของคลอโรฟิลล์ ( สารสีเขียว ) 1. ( 2 ) ( 3 ) 3. ( 4 ) ( 5 )
141
แบบฝึกหัด 15. ข้อใดถูกต้อง 1. กล้องจุลทรรศน์ช่วยให้การศึกษาทางด้าน
จุลชีววิทยาได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปเรื่อยๆ 2. เซลล์คือพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 3. ไวรัสก็จัดเป็นสิ่งมีชีวิตแต่ไม่จัดเป็นรูปเซลล์ 4. ถูกทุกข้อ
142
แบบฝึกหัด 16. ข้อใดที่ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาไม่เห็น
1. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัมและไรโบโซม 2. ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส 3. เยื่อหุ้มเซลล์และโครโมโซม 4. นิวเคลียสและผนังเซลล์
143
แบบฝึกหัด 17. ออร์แกเนลล์ใดเปรียบได้เป็น " รถบรรทุกบริการแบบเร่งด่วน "
1. กอลจิบอดี 2. ไมโทคอนเดรีย 3. เอนโพลาสมิกเรติคูลัม 4. ไลโซโซม
144
แบบฝึกหัด 18. ข้อใดที่ไม่สามารถอธิบายทั้งคลอโรพลาสต์และไมโทคอนเดรีย ได้ถูกต้องและครบถ้วน 1. สังเคราะห์ ATP จากวัฏจักรเครปส์ 2. เพิ่มจำนวนได้ 3. มี DNA เป็นองค์ประกอบ 4. มีเยื่อหุ้มสองชั้น
145
แบบฝึกหัด 19. สารในข้อใดผ่านผนังเซลล์ได้
1. ตัวถูกละลายทุกชนิด 2. ตัวทำละลาย 3. ตัวถูกละลายบางชนิด 4. อนุภาคของสารบางชนิด
146
แบบฝึกหัด 20. ออร์แกเนลล์ใดที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
1. ไมโครโซม เซนตริโอล ไรโบโซม 2. ไรโบโซม เซนตริโอล นิวคลีโอลัส 3. ไลโซโซม เพอโรซิโซม นิวคลีโอลัส 4. เซนตริโอล เพอโรซิโซม นิวคลีโอลัส
147
แบบฝึกหัด 21. ชื่อคู่ใดที่ไม่สอดคล้องกัน
1. ไลโซโซม ซินทีซิส 2. นิวคลีโอลัส rRNA 3. เยื่อหุ้มเซลล ไลพิด ไบเลเยอร์ 4. ไซโทสเคลลาตอน ไมโครทูบูล
148
แบบฝึกหัด 22. โครงสร้างใดที่มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวแบบอะมีบอยด์และการทำงานของเซลล์กล้ามเนื้อ 1. ไมโครทูบูล 2. ไมโอไฟบริน 3. ไมโครฟิลาเมนต์ 4. ไมโครไฟเบอร์
149
แบบฝึกหัด 23.คลอโรพลาสต์และไมโทคอนเดรียสามารถทำกิจกรรมในข้อใดที่ไม่พบในออร์แกเนลล์อื่นในไซโทพลาสซึม 1.การแบ่งตัวเอง การควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนบางชนิด การเคลื่อนย้ายตำแหน่งภายในเซลล์ การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง 1.ข้อ 1 และ 2 2.ข้อ 2 และ 3 3.ข้อ 3 และ4 4.ข้อ 1 และ 3
150
แบบฝึกหัด 24. ข้อใดจับคู่แสดงหน้าที่ไม่ถูกต้อง
ก.ไซโตพลาสซึม – ควบคุมการเจริญเติบโต ข.นิวเคลียส – ควบคุมการทำงานของเซลล์ ค.เยื่อหุ้มเซลล์ – มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน ง.ผนังเซลล์ -- สารส่วนใหญ่สามรถซึมผ่านได้
151
25. จงเติมข้อความในหมายเลขให้สมบูรณ์
คำสั่ง 25. จงเติมข้อความในหมายเลขให้สมบูรณ์ แหล่งที่มา
152
เฉลย (1) nucleolus nucleolus (2) nucleus (3) ribosome (4) vesicle (5) rough endoplasmic reticulum (ER) (6) Golgi apparatus (7) Cytoskeleton (8) smooth ER (9) mitochondria (10) vacuole (11) cytoplasm (12) peroxisome (13) centrioles แหล่งที่มา
153
ตอนที่ 2 1.ผู้ตั้งทฤษฎีเซลล์คือใคร ………………………………………….
แบบฝึกหัด ตอนที่ 2 คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามให้ได้ใจความสมบูรณ์ 1.ผู้ตั้งทฤษฎีเซลล์คือใคร …………………………………………. 2.นักวิทยาศาสตร์ผู้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ และนำไปส่องดูไม้คอร์ก พบว่ามีลักษณะเป็นช่องว่างมากมาย คือใคร 3.ช่องว่างที่นักวิทยาศาสตร์ในข้อ 2 พบนี้ นักวิทยาศาสตร์ท่านนี้เรียกชื่อว่าอะไร และมีความหมายว่าอย่างไร
154
5.จงบอกหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ต่อไปนี้
แบบฝึกหัด 5.จงบอกหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ต่อไปนี้ 5.1 ผนังเซลล์ 5.2 เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส คลอโรพลาสต์ - ไมโตคอนเดรีย……
155
เซลล์พืช เซลล์สัตว์ แบบฝึกหัด
4. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แตกต่างกันอย่างไร เซลล์พืช เซลล์สัตว์
156
แบบฝึกหัด 6. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างพลังงาน แก่เซลล์ 7. โครงสร้างใดของเซลล์ทำหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารภายในเซลล์ 8. เซลล์ของใบสาหร่ายหางกระรอกมีโครงสร้างอะไรที่ไม่พบในเซลล์สัตว์ 9. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวได้แก่อะไรบ้าง
157
************************
แบบฝึกหัด 10. ตำแหน่งใดที่จะพบสารพันธุกรรม 11. นักเรียนคิดว่าส่วนประกอบใดของเซลล์ที่สำคัญที่สุด เพราะเหตุใด… ************************
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.