งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย
โดย จารุวรรณ คุณธรณ์ ศักดริน โต๊ะเฮง

2 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
มาตรา 80 ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องรักษาวินัยโดยกระทำ การหรือไม่กระทำการตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ มาตรา ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ หรือฝ่าฝืนข้อห้าม...ผู้นั้นกระทำผิดวินัย... มาตรา ผู้ใดกระทำผิดวินัย ต้องได้รับโทษทางวินัย..... 2

3 พรบ.2535 มาตรา 99 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้าง และพัฒนาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัย ป้องกัน มิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย และดำเนินการทางวินัย แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย 3

4 พรบ. 2551 มาตรา 87 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้าง และพัฒนาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัย และป้องกัน มิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย.... มาตรา 90 เมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำผิดวินัย ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ทราบโดยเร็ว และให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 ดำเนินการตามพรบ.นี้ โดยเร็วด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ 4

5 การดำเนินการทางวินัย
การตั้งเรื่องกล่าวหา ( การตั้งคณะกรรมการสอบสวน ) การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ การลงโทษ พักราชการ ให้ออกฯ ไว้ก่อน 5

6 ขั้นตอนของกระบวนการพิจารณาความผิด กำหนดโทษและการลงโทษ
ขั้นตอนของกระบวนการพิจารณาความผิด กำหนดโทษและการลงโทษ เมื่อการ สอบสวนวินัย ได้ข้อเท็จจริง เป็นยุติ พิจารณาความผิดว่าผิดหรือไม่ ? ข้อใด ? พิจารณากำหนดโทษ ว่าควรได้รับโทษสถานใด ? การสั่ง ลงโทษ 6

7 การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ คือ
การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ คือ การพิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยในกรณีใด ตามข้อใดและควรจะลงโทษใน สถานใดหรือไม่ ทั้งนี้ เป็นกระบวนการที่จะต้องทำโดยผู้มีอำนาจ หน้าที่ในการพิจารณาตามที่กฎหมายกำหนดไว้ 7

8 หลักการพิจารณาความผิด
1. หลักนิติธรรม 2. หลักมโนธรรม 8

9 คือการพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
หลักนิติธรรม คือการพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย - มีบทกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด - การกระทำเข้าองค์ประกอบ ความผิดทุกประการ 9

10 มาตรา 82 (5) ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการมิได้ องค์ประกอบ คือ 1. มีหน้าที่ราชการ 2. ละทิ้ง / ทอดทิ้งหน้าที่ 3. เจตนา 10

11 มาตรา 83 (1) “ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้งถือเป็นการรายงานเท็จด้วย” 1. มีการรายงาน 2. ข้อความที่รายงานเป็นเท็จ / ปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง องค์ประกอบ คือ 3. เป็นการรายงานต่อผู้บังคับบัญชา 4. โดยเจตนา 11

12 หลักมโนธรรม หมายถึง การพิจารณาทบทวนให้รอบคอบโดยคำนึงถึงความเป็นจริง ความถูกต้องเหมาะสมที่ควรจะเป็น 12

13 การพิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้กระทำความผิด ในแต่ละกรณี สมควร ถูกลงโทษสถานใด
การกำหนดโทษ การพิจารณาวินิจฉัยว่า ผู้กระทำความผิด ในแต่ละกรณี สมควร ถูกลงโทษสถานใด 13

14 โทษทางวินัยมี 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน
โทษทางวินัยมี 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก 14

15 หลักการกำหนดโทษ 1. หลักนิติธรรม 2. หลักมโนธรรม 3. หลักความเป็นธรรม
4. นโยบายของทางราชการ 15

16 1. หลักนิติธรรมในการกำหนดโทษ คือ คำนึงถึงระดับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
1. หลักนิติธรรมในการกำหนดโทษ คือ คำนึงถึงระดับโทษตามที่กฎหมายกำหนด * ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง กำหนดโทษสถานหนัก * ความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง กำหนดโทษสถานเบา * ความผิดวินัยเล็กน้อย จะงดโทษให้ก็ได้ (ว่ากล่าวตักเตือน ทัณฑ์บน) 16

17 2. หลักมโนธรรมในการกำหนดโทษ
2. หลักมโนธรรมในการกำหนดโทษ คือ การพิจารณาทบทวนให้รอบคอบ โดยคำนึงถึงความถูกต้อง เหมาะสม ตามเหตุผล ที่ควรจะเป็น ภายในขอบเขตระดับโทษ ตามที่กฎหมายกำหนด 17

18 เหตุผลประกอบการพิจารณา
* ลักษณะของการกระทำผิด * ผลแห่งการกระทำ * คุณความดี * การให้โอกาสแก้ไขความประพฤติ * การรู้หรือไม่รู้ว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด * เหตุเบื้องหลังการกระทำผิด * สภาพของผู้กระทำผิด 18

19 3. หลักความเป็นธรรม คือ การวางโทษจะต้องให้ได้ระดับเสมอหน้ากัน ใครทำผิดก็จะต้องถูกลงโทษ
- ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง - ความผิดอย่างเดียวกัน ควรกำหนดโทษ เท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน 19

20 4. นโยบายของทางราชการใน การลงโทษข้าราชการ
4. นโยบายของทางราชการใน การลงโทษข้าราชการ - นโยบายของรัฐบาล - มติคณะรัฐมนตรี - มติ ก.พ. 20

21 การลงโทษทางวินัย 21

22 การดำเนินการทางวินัย
การตั้งเรื่องกล่าวหา ( การตั้งคณะกรรมการสอบสวน ) การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ การลงโทษ พักราชการ ให้ออกฯ ไว้ก่อน 22

23 จุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัย
1. เพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผน 2. เพื่อรักษามาตรฐานความประพฤติ ขวัญ และ สมรรถภาพของข้าราชการ 3. เพื่อจูงใจให้ข้าราชการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น 4. เพื่อรักษาชื่อเสียงของทางราชการและความเชื่อมั่น ของประชาชนต่อหน้าที่ราชการ 23

24 ข้อควรคำนึงในการลงโทษ
6. การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง ข้อควรคำนึงในการลงโทษ 1. ผู้สั่งลงโทษต้องเป็นผู้บังคับบัญชา 5. ขั้นตอนการดำเนินการถูกต้องหรือไม่ 3. สภาพการเป็นข้าราชการ 4. อำนาจการลงโทษ 2. ผู้ถูกสั่งลงโทษต้องเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา 24

25 1. ผู้สั่งลงโทษ ผู้บังคับบัญชาตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจ ลงโทษไว้
ผู้บังคับบัญชาตามที่กฎหมายบัญญัติให้อำนาจ ลงโทษไว้ - พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา 57 25

26 (2) ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้มีอำนาจ (ปฏิบัติราชการแทน)
(2) ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้มีอำนาจ (ปฏิบัติราชการแทน) (3) การรักษาราชการแทน และการรักษาการในตำแหน่ง 26

27 2. ผู้ถูกสั่งลงโทษต้องเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา
2. ผู้ถูกสั่งลงโทษต้องเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา กรณีโอนย้ายระหว่างการสอบสวน 27

28 3. สภาพการเป็นข้าราชการ
3. สภาพการเป็นข้าราชการ การสั่งลงโทษจะมีผลใช้บังคับได้ต่อเมื่อ ข้าราชการผู้นั้นยังมีสภาพเป็นข้าราชการอยู่ เว้นแต่ กรณีตามมาตรา 100 ที่ยังคงสามารถดำเนินการทางวินัยได้ต่อไป แต่ต้องดำเนินการภายใน 180 วันนับแต่ผู้นั้นพ้นจากราชการ 28

29 การลงโทษทางวินัยแก่ผู้ที่ออกไปแล้วทำได้ในกรณี
1. ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงอยู่ก่อนออก - เป็นหนังสือ - ต่อ ผบ. / ผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวน ตรวจสอบ/ หรือ ผบ.เป็นผู้กล่าวหา 2. ถูกฟ้อง / ต้องหาว่ากระทำผิดอาญาอยู่ก่อน เว้นแต่ ความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทที่ไม่เกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ 29

30 ข้อยกเว้น ตามมาตรา 100 1. ตาย ดำเนินการไม่ได้
ข้อยกเว้น ตามมาตรา 100 1. ตาย ดำเนินการไม่ได้ 2. ถ้าจะลงโทษไม่ร้ายแรง ให้งดโทษ 30

31 4. อำนาจการสั่งลงโทษ ไม่ร้ายแรง มาตรา 96 วรรคหนึ่ง “.... ผุ้ใดกระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ.....สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือนตามควรแก่กรณี....” 31

32 ร้ายแรง มาตรา 97 “ ...ผู้ใดกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ลงโทษปลดออก หรือไล่ออก ตามความร้ายแรงแห่งกรณี ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่ห้ามมิให้ลดโทษลงต่ำกว่าปลดออก ในกรณีที่...เห็นว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. ....ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่ แล้วแต่กรณี พิจารณา....” 32

33 5. ขั้นตอนการดำเนินการถูกต้องหรือไม่
5. ขั้นตอนการดำเนินการถูกต้องหรือไม่ วินัยอย่างไม่ร้ายแรง : ได้มีการแจ้งข้อกล่าวหา / สรุปพยานหลักฐาน / รับฟังคำชี้แจง หรือไม่ วินัยอย่างร้ายแรง : มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนและสอบสวนตามหลักเกณฑ์หรือไม่ - การสั่งลงโทษดังกล่าวมีการนำเสนอต่อ อ.ก.พ หรือไม่ 33

34 6. การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง
6. การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง หลัก การสั่งลงโทษทั้งความผิดร้ายแรงและ ไม่ร้ายแรง จะสั่งลงโทษย้อนหลังไปก่อนออกคำสั่งไม่ได้ เว้นแต่ เข้าข้อยกเว้นตามที่กำหนดไว้ในระเบียบ ก.พ. 34

35 ข้อยกเว้น การสั่งลงโทษย้อนหลัง
ข้อยกเว้น การสั่งลงโทษย้อนหลัง 1. มีการเปลี่ยนแปลงโทษ มีการสั่งพัก/ให้ออกจากราชการไว้ก่อน กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ 35

36 1. กรณีมีการเปลี่ยนแปลงโทษ ไม่ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง ร้ายแรง
ไม่ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง ร้ายแรง 36

37 2.กรณีมีการสั่งพัก/ให้ออกจากราชการไว้ก่อน เฉพาะโทษร้ายแรงเท่านั้น
3.กรณีละทิ้งหน้าที่ราชการ เฉพาะการละทิ้งที่ไม่กลับมาปฏิบัติ ราชการอีกเลย 37

38 ลักษณะของคำสั่งลงโทษ
มาตรา ในคำสั่งลงโทษให้แสดงให้แสดงว่า ผู้ถูกลงโทษกระทำผิดวินัยกรณีใด ตามมาตราใด พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา 40 คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบุกรณี....การยื่น...และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งดังกล่าวด้วย 38

39 39

40 สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ.
สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ. โทร. (02) โทรสาร (02)


ดาวน์โหลด ppt การพิจารณาความผิดและกำหนดโทษ และการลงโทษทางวินัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google