ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMartha Schwarz ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 1. การย้ายมูลไก่ออกจากโรงเรือน
กรณีเลี้ยงไก่ตั้งแต่รุ่นที่ 2 เป็นต้นไป ย้ายมูลไก่ออกจากโรงเรือน โดยใช้พลั่วตักมูลไก่ออก แล้วนำไปทำปุ๋ยหมัก หรือนำไปตากแห้ง เพื่อนำไปปลูกพืชผักสวนครัว เป็นการหมุนเวียนให้เกิดประโยชน์ เมื่อขนย้ายมูลไก่เรียบร้อยแล้วจึงทำความสะอาดโรงเรือน เริ่มตั้งแต่เพดานด้านบน โดยฉีดน้ำพ่นให้สิ่งกปรกหล่นลงมา เมื่อทำความสะอาดด้านบนเสร็จ ด้านล่างจะมีความชื้น ให้ฉีดน้ำเพื่อให้มูลไก่ไปกองรวมกันเพียงด้านเดียว ห้ามฉีดย้อนไปย้อนมา เพราะจะทำให้การล้างไม่มีประสิทธิภาพ ล้างไล่จากส่วนที่สูงไปสู่ส่วนที่ต่ำ ฉีดน้ำพร้อมๆกับการกวาดและถูสลับกัน
2
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 1. การย้ายมูลไก่ออกจากโรงเรือน
การล้างโรงเรือนนับเป็นปัจจัยที่ 1 ที่ทำให้การเลี้ยงไก่มีประสิทธิภาพ ในรุ่นแรกอาจไม่พบปัญหามากนัก แต่สำหรับรุ่นที่ 2-3 เป็นต้นไปจะต้องเข้มงวดมากขึ้น เพราะเมื่อเลี้ยงไปหลายๆรุ่น มูลไก่จะเป็นบ่อเกิดของการเพาะเชื้อหมักหมม หากนำไก่ใหม่เข้ามา เชื้อโรคที่เกิดจากมูลไก่จะเข้าสู่ไก่ใหม่ ทำให้เกิดความสูญเสียได้
3
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 2. ตัดหญ้ารอบบริเวณโรงเรือน
ตัดหญ้ารอบบริเวณโรงเรือน ให้รัศมีห่างออกไปอย่างน้อย 4 เมตร เพื่อป้องกัน หนู หรือ งู เนื่องจากไก่ไข่ตกใจง่าย และเวลาตกใจมักกระโดดชนกรง ผลเสียก็คือ ไข่อยู่ข้างในแตก 3. ฉีดพ่นยาฆ่าแมลง ฉีดพ่นยาฆ่าแมลง โดยใช้ยาในกลุ่ม ไซเปอร์เมททริน อัตราส่วน 1 ลิตร : น้ำ 250 ลิตร: พื้นที่ 1000 ตร.ม.
4
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 4. เก็บกวาดขยะ
เก็บกวาดขยะ ซากแมลง สิ่งปฏิกูลต่างๆ ภายในและรอบโรงเรือน 5. ล้างทำความสะอาดโรงเรือน กรงตับ และอุปกรณ์การเลี้ยงต่างๆ ล้างทำความสะอาดโรงเรือน กรงตับ และอุปกรณ์การเลี้ยงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก โรงเรือน โดยลักษณะกรงของโรงเรือนเป็นตาข่าย จะทำให้ล้างยาก วิธีล้างคือให้ฉีด ไล่จากข้างบนลงมา
5
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 6. ฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อ
ฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อ โดยใช้ยาในกลุ่มกลูตารอลดีไฮด์ อัตราส่วน 1 ลิตร : น้ำ 150 ลิตร : พื้นที่ 400 ตร.ม. ทั้งภายในและภายนอกโรงเรือน โดยปกติสัตวแพทย์ประจำเขตจะเข้าไปแนะนำ เรื่องอัตราส่วนให้ และเมื่อล้างเล้าไก่สัก 3 วัน ควรฉีดซ้ำอีกครั้ง เพื่อความมั่นใจ 7. ปิดโรงเรือน ห้ามบุคคลหรือสัตว์เข้าออกโรงเรือน เมื่อฉีดพ่นยาเรียบร้อยแล้วให้ปิดโรงเรือน ห้ามบุคคลหรือสัตว์เข้าออกโรงเรือนอย่างน้อย 21 วัน ก่อนนำไก่สาวเข้าเลี้ยง โรงเรือนต้องคลุมตาข่ายให้มิดชิด เพื่อป้องกัน นก หนู ไม่ให้เข้าไปในโรงเรือน รวมถึงปิดช่องระบายอากาศ และท่อระบายน้ำด้วย
6
3.3 การรับไก่รุ่นไข่ 1. ขอใบอนุญาตเข้าเลี้ยงสัตว์จากปศุสัตว์ในท้องที่
3.3 การรับไก่รุ่นไข่ 1. ขอใบอนุญาตเข้าเลี้ยงสัตว์จากปศุสัตว์ในท้องที่ 2. ตรวจเช็คความพร้อมของอุปกรณ์การเลี้ยงต่างๆ เช่นรางน้ำ รางอาหาร เป็นต้น 3. รีบนำไก่ลงจากรถและนำเข้าอย่างนุ่มนวลและรวดเร็ว 4. ให้ไก่ที่เข้ามาใหม่นั้นได้กินน้ำทันที โดยฝึกการกินน้ำ 2 – 3 ชั่วโมง แล้วจึงให้อาหารทีละน้อย
7
การรับไก่รุ่นไข การจัดการ
ขอใบอนุญาตเข้าเลี้ยงสัตว์จากปศุสัตว์ในท้องที่ เมื่อสร้างโรงเรือนเสร็จ ต้องแจ้งปศุสัตว์อำเภอถึงโรงเรือน ว่าสร้างเสร็จเรียบร้อย ตามมาตรฐานฟาร์ม รอเอาไก่เข้า ปศุสัตว์จะออกหนังสือการรับรองไก่ จากนั้นนำหนังสือที่ได้ส่งถึงสัตวบาล เพื่อทำการเคลื่อนย้ายไก่มาให้ เพิ่ม รายละเอียดมาตรฐานฟาร์ม (รายการที่ต้องทำให้เป็นไปตามมาตรฐานของกรมปศุสัตว์)
8
การรับไก่รุ่นไข การจัดการ การย้ายไก่
ขณะเคลื่อนย้ายไก่ ต้องมีกล่องใส่ให้พอเหมาะพอดี ไม่ควรใส่กระบะรถมา ถ้าระยะทาง 100 กิโลเมตร สามารถใส่ได้กล่องละ 10 ตัว ถ้าเกิน 200 กิโลเมตร แนะนำให้ใส่ 8 ตัว เนื่องจากระยะทางไกล ไก่จะเหนื่อย ช้ำ ความเสียหายค่อนข้างเยอะ ในกรณีที่รับไก่มาไม่ดี ไก่เพลีย ไก่ไม่กินน้ำ หรือไม่กินอาหาร ต้องปรึกษาสัตวแพทย์โดยเร็วที่สุด
9
การรับไก่รุ่นไข การจัดการ การให้น้ำ และอาหาร
ก่อนนำไก่เข้าโรงเรือน ต้องตรวจสอบความพร้อมของตรวจสอบก่อนว่าระบบน้ำภายในโรงเรือนเปิดให้พร้อมใช้งานเรียบร้อย เมื่อนำไก่เข้า ต้องให้น้ำก่อนเป็นเวลา 2 ชั่วโมง แล้วจึงให้อาหาร ใน 3 วันแรก ของการรับไก่ ถ้าไก่กินอาหารไม่ได้ ให้เปิดไฟทิ้งไว้ 3 วัน 3คืน เพื่อให้ไก่ได้เรียนรู้การกินน้ำ กินอาหาร ในกรณีหากกินไม่ได้เท่าปกติ ให้เพิ่มการให้แสงสว่างเป็น 7 วัน โดยกลางวันไม่ต้องเปิดไฟ สามารถใช้แสงธรรมชาติได้
10
การรับไก่รุ่นไข การจัดการ การคัดไก่
เมื่อไก่เข้า 1 -2 วันแรก ต้องทำการชั่งไก่และคัดไก่ โดยไก่ตัวเล็ก หงอนเล็ก ให้นำขึ้นไว้ข้างบน ส่วนไก่ตัวใหญ่ หงอนใหญ่ ให้นำมาอยู่รวมกันข้างล่าง เพราะหากนำไก่ตัวเล็กและไก่ตัวใหญ่เข้ามาอยู่รวมกัน ไก่ตัวใหญ่จะแย่งกินอาหารกินหมด อีกทั้งถ้านำไก่ตัวใหญ่ขึ้นไว้ข้างบน ไก่ตัวเล็กจะได้รับแสงสว่างไม่เพียงพอ
11
กรณีไม่มีเครื่องพ่นทำอย่างไร
3.4 การจัดการไก่ก่อนเริ่มไข่ 1. ให้แสง 22 ช.ม. ในสัปดาห์แรก เพื่อให้ไก่ได้ปรับตัวและเรียนรู้การกินอาหารและน้ำ เน้นให้เฉพาะแสงธรรมชาติจนกว่าน้ำหนักไก่จะได้ กก. จึงเปิดการให้แสงตามตามโปรแกรมการให้แสง 2. เสริมวิตามิน 3 วันแรก เพื่อลดความเครียด 3. หลังเข้าไก่เต็มเล้า 5 วัน พิจารณาพ่นไรโดยดูจากตัวไก่โดยตรง (ใช้เครื่องพ่นแรงดัน 20–30 bar หรือจับไก่จุ่มน้ำยา) ใช้ Cypermethrin อัตราส่วน1 ซีซี:น้ำ1 ลิตร สารละลาย150 ซีซี:ไก่ 1ตัว 4. หลังพ่นไร 1 สัปดาห์ (อายุไก่ 20 สัปดาห์) ทำการหยอดวัคซีนหรือละลายน้ำตามโปรแกรมสัตวแพทย์ กรณีไม่มีเครื่องพ่นทำอย่างไร
12
รับไก่สาวก่อนให้เริ่มไข่ 1 - 2 สัปดาห์
ควรเลี้ยงไก่อายุเดียวกัน คัดไก่ขนาดเดียวกันไว้ในกรงเดียวกัน ฝึกไก่กินน้ำโดยการกดนิปเปิ๊ลให้น้ำหยดลงถ้วยน้ำ ให้แสง 22 ช.ม. ใน 3 วันแรก หลังจากเข้าไก่
13
ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน
14
พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน
ใช้ พานาคูร์ อัตราส่วน10 มิลลิกรัม/ตัว/วัน กินติดต่อกัน 3 วัน 1. ไก่ 100 ตัว ใช้ยา 100 ซีซี/ วัน 2. ไก่ 200 ตัว ใช้ยา 200 ซีซี/ วัน 3. ไก่ 300 ตัว ใช้ยา 300 ซีซี/ วัน ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน พยาธิตัวกลม เพิ่ม วิธีการทำ พยาธิตัวแบน
15
การจัดการก่อนไก่เริ่มไข่
การถ่ายพยาธิ ทำไมไก่ยืนกรงถึงมีพยาธิ สาเหตุหลักที่ทำให้ไก่มีพยาธิ คือ แมลงวัน เพราะเมื่อแมลงวันบินมาตอมอาหาร อาจเอาไข่พยาธิติดมาด้วย และเมื่อไก่กินอาหารนั้นๆเข้าไป ก็ทำให้เกิดการแพร่กระจายของพยาธิในไก่ ผู้เลี้ยงจะไม่สามารถรู้ได้ว่าไก่มีพยาธิหรือไม่ จนกว่าไก่จะขับออกมาเป็นพยาธิ หากไก่ขับออกมาเป็นพยาธิเต็มตัว นั่นคือไก่ทุกตัวมีพยาธิ 100% ไก่ที่มีพยาธิมีหลักสังเกตเบื้องต้น คือ ไก่กินได้ดีแต่ผอม ขอบตาหลือง แห้ง ซีด การรักษา ใช้ยาพานาคูร์ อัตราส่วน 10 มิลลิกรัม/ตัว/วัน กินติดต่อกัน 3-5 วัน ตามดุลพินิจของสัตวแพทย์
16
ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน ใช้ยาฆ่าแมลงกลุ่มไซเปอร์เมททริน อัตราส่วน 50 ซี.ซี./น้ำ 100 ลิตร ต่อไก่ 1,000 ตัว ฉีดพ่น หรือ จับไก่จุ่มน้ำ ไรไก่ เหาไก่ เพิ่ม เทคนิค/วิธีการ การพ่น/จุ่มน้ำ
17
เพิ่ม วิธีการกำจัดไร/เหา
การจัดการ การจัดการก่อนไก่เริ่มไข่ การกำจัดไรและเหา ไรและเหา มักจะมากับโรงเรือนที่ไม่มีคุณภาพ หรือติดมาตั้งแต่แรก ดังนั้น ก่อนนำไก่เข้าโรงเรือนจะต้องสังเกตว่าเวลาจับไก่เข้ากรง มีตัวอะไรเล็กๆ ไต่ยิบๆที่มือหรือไม่ ถ้ามีนั่นหมายความว่าไก่ที่จะนำเข้าโรงเรือนมีไรติดอยู่ ส่วนเหามักจะติดอยู่ตามปีก ถ้าดึงขนหางออกมาจะสามารถสังเกตเห็นได้ หากพบไรต้องแจ้งให้สัตวแพทย์นำยามาพ่น เพราะหากไก่ที่เลี้ยงมีไร จะส่งผลให้ไก่ไม่ได้นอน ไม่ได้พักผ่อน ปริมาณไข่ลดลงไป 3% การรักษาใช้ยาฆ่าแมลงกลุ่ม ไซเปอร์เมททรินอัตราส่วน 50 ซีซี/น้ำ 100 ลิตร/ไก่ 1000 ตัว เพิ่ม วิธีการกำจัดไร/เหา
18
ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน
19
การจัดการก่อนไก่เริ่มไข่
การซ่อมปากไก่ ปากไก่ที่ดีนั้น ปากบนจะสั้นกว่าปากล่างเล็กน้อย โค้งมน ไม่สั้นหรือยาวเกินไป โดยทางสัตวบาลจะคัดไก่และตัดปากไก่ให้ประมาณ 2 มิลลิเมตรก่อนนำมาส่งโรงเรียน ไก่ที่ปากไม่ดี จะทำให้ไก่เลือกกินอาหารและจิกกัน ส่งผลให้ไก่ตัวอื่นเสียหาย เพราะไก่ตัวอื่นไม่สามารถจิกได้เนื่องจากถูกตัดปากไปแล้ว การซ่อมปากไก่ ไม่แนะนำให้ซ่อมเอง กรณีมีไก่ปากยาว ต้องแต่งปากไก่โดยวิธี - ใช้เครื่องตัดปาก กรณีที่ปากยาวมากๆ - ใช้เครื่องตัดปากจี้ กรณีที่ปากยาวไม่เท่ากัน เพิ่มเติม กรณีซ่อมปากไก่เอง ทำอย่างไร ใช้อุปกรณ์อะไร
20
สัปดาห์ที่ แสง (ชม.) เวลาเปิด (น.) เวลาปิด
ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน สัปดาห์ที่ แสง (ชม.) เวลาเปิด (น.) เวลาปิด ไก่เข้าใหม่ 2 -3 วัน จนไก่กินอาหรเป็น 22 18.00 06.00 อายุไก่ที่ 15 03.00 อายุไข่ที่ 1 – 14 อายุไข่ที่ 15 14 04.00 อายุไข่ที่ 16 13 05.00 อายุไข่ที่ 17 - ปลด แสงธรรมชาติ วิธีการนับชั่วโมงแสง ชั่วโมงแสงในตาราง ต้องรวมชั่วโมงแสงธรรมชาติ หรืออย่างไร เช่น นับได้ 12 ชม.
21
การจัดการก่อนไก่เริ่มไข่
การให้แสงสว่าง ไก่ 3-7 วันแรก ควรได้รับแสง 23 ชม. กรณีที่ไก่กินได้อาจจะแค่ 3 วัน แต่ถ้ากินไม่ได้ เปิดต่ออีกเป็น 7 วัน ตั้งแต่อายุไข่ที่ 1 สัปดาห์ แสงอยู่ที่ 12 ชม. เมื่ออายุไข่เพิ่มขึ้น การให้แสงก็จะเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละครึ่งชั่วโมง จนถึง 15 ชม. หมายเหตุ อายุไก่ 19 สัปดาห์ = อายุไข่ที่ 1 สัปดาห์
22
ถ่ายพยาธิ กำจัดไรและเหา คัดไก่ซ่อมปาก การให้แสงสว่าง การให้วัคซีน
23
การจัดการก่อนไก่เริ่มไข่
การให้วัคซีน ไก่เข้าเลี้ยงใหม่ควรให้วัคซีนครั้งแรกที่อายุ 20 สัปดาห์ ควรให้วัคซีนตามเวลาที่กำหนด ให้วัคซีนนิวคาสเซิล และหลอดลมอักเสบชนิดเชื้อเป็น โดยการหยอดและละลายน้ำดื่ม ทั้ง 2 ชนิด ให้พร้อมกันหรือออย่างไร บอกวิธีการหยอดวัคซีน การละลายน้ำให้ไก่กิน
24
3.5 หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร
3.5 หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร กระตุ้นการกินอาหารในช่วงอายุไข่ที่ 1–10 สัปดาห์ ให้ได้ที่ – กก./100 ตัว/วัน ให้แสง 15 ชม. ต่อ วัน หรือมากกว่านี้ หากกินอาหารไม่ได้ เงื่อนไขไก่ไข่ “กินอาหารได้ไข่ได้” คำนวณจาก มาตรฐานเป็นแนวทาง ใช้ STD ตามอายุ x จำนวนตัวไก่/100 ตัว คำนวณอาหารแยกเป็นแถว ยึดถือหลักอาหารหมด วัน/วัน ปริมาณอาหารต้องสม่ำเสมอในราง ให้อาหาร น. ครั้งเดียว ต้องกระตุ้นการกินหากไก่กินไม่ได้ตามต้องการโดยการเกลี่ยอาหาร 4 – 5 ครั้ง/วัน
25
ปริมาณการกินอาหาร (ค่ามาตรฐาน)
26
หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร
การจัดการ หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร การให้วัคซีน เมื่อไก่เข้าโรงเรือนเป็นเวลา 3 สัปดาห์ จึงจะเริ่มปล่อยให้ไข่ ในช่วงนี้ไก่จะกินประมาณ 90 กรัม และเมื่ออายุไข่ประมาณ 28 สัปดาห์ขึ้นไป ต้องผลักดันให้กินอาหารให้ได้ กรัม ถ้าไข่เยอะแล้วไม่ให้อาหาร จะเกิดปัญหาไข่ลดลง อาหารที่ใช้ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ อายุไก่ อาหารใช้เบอร์ 523 NP อายุการไข่ที่ 1-36 อาหารใช้เบอร์ 524 NFP อายุการไข่ที่ 37-ปลด อาหารใช้เบอร์ 525 NFP (ค่ามาตรฐาน)
27
ใช้อาหารระยะก่อนไข่ 2-3 สัปดาห์
เมื่อไก่ให้ไข่ได้ 3 % เริ่มใช้อาหารระยะไข่ ให้อาหาร 1 ครั้ง /วัน เกลี่ยอาหารบ่อยครั้ง เพิ่มแสงในช่วงกลางคืน
28
การให้อาหารไก่ในระยะให้ไข่
ให้อาหารวันละ 1 ครั้ง เวลา น. หลังให้อาหารต้องเกลี่ยอาหารทุกครั้ง อาหารต้องหมดรางไม่น้อยกว่า 1-2 ชั่วโมงก่อนการให้อาหารครั้งต่อไป
29
หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร
การจัดการ หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร การให้อาหารไก่ในระยะให้ไข่ โดยปกติไก่จะแบ่งออกเป็น 4 แถว ยกตัวอยางเช่น ไก่ 100 ตัว แบ่ง 4 แถว ๆ ละ 25 ตัว ในการให้อาหารต้องคำนวณว่า 100 ตัว กินตัวละ 115 กรัม คำนวณตัดให้เป็นแถว ดังนั้นจะได้แถวละ (100*115)/4 = 2875 กรัม โดยให้อาหารเวลาเดียว คือ น. ทุกเช้าต้องเกลี่ยอาหาร อย่าหมักหมมอาหาร เพราะจะเกิดเชื้อรา เมื่อไก่กินเข้าไปจะมีผลต่อระบบสืบพันธุ์ ไข่ไม่ดี และติดเชื้อ ไก่ไทยต้องเลี้ยงอย่างสะอาดจึงให้ไข่ดี อาหารต้องให้หมดรางไม่น้อยกว่า1-2 ชั่วโมงก่อนการให้อาหารครั้งต่อไป ปริมาณอาหารในราง ต้องสม่ำเสมอ อย่าใช้กระป๋องใหญ่ๆเทอาหาร แต่ให้ใช้ขันเล็กๆตัก เพื่อป้องกันอาหารหก
30
การให้อาหารไก่ในระยะให้ไข่
ดูแลทำความสะอาดรางอาหาร อยู่เสมอ (ทุก 2 วัน ) เกลี่ยอาหารบ่อยครั้ง (วันละ 4-5 ครั้ง) จนกว่าไก่จะกินอาหารได้ตามมาตรฐาน
31
หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร
การจัดการ หลักเกณฑ์ในการให้อาหาร การให้อาหารไก่ในระยะให้ไข่ ดูแลทำความสะอาดรางอาหารอยู่เสมอ โดย 1-2 วันให้เช็ดทำความสะอาด 1 ครั้ง กระตุ้นการกินอาหาร หากไก่กินไม่ให้ได้ตามมาตรฐานต้องการ โดยการเกลี่ยอาหาร 4-5 ครั้งต่อวัน ไก่ที่ให้ไข่ได้ดีจะมีน้ำหนักตัวอยู่ที่ 1 กิโล 85 ถึง 1 กิโล 95 ควรสุ่มชั่งน้ำหนักเดือนละครั้ง เพื่อให้รู้ภาวะของไก่ ก.ก.
32
อาหารสำเร็จรูปไก่ไข่
33
3.6 การให้น้ำ น้ำที่ให้ไก่กินต้องสะอาด ผ่านการกรอง หรือผ่านการฆ่าเชื้อ
3.6 การให้น้ำ น้ำที่ให้ไก่กินต้องสะอาด ผ่านการกรอง หรือผ่านการฆ่าเชื้อ การให้น้ำด้วยราง ควรทำความสะอาดวันละ 2 ครั้ง การให้น้ำด้วยระบบนิปเปิ้ล ควรทำความสะอาดทุกๆ 2 WK ความดันน้ำของระบบนิปเปิ้ล เท่ากับ นิ้วของความสูงน้ำ ปริมาณการไหลของน้ำไม่น้อยกว่า 75 ซี.ซี. / นาที ตรวจคุณภาพน้ำเป็นประจำ การฆ่าเชื้อในน้ำดื่มจะทำให้ลดการติดเชื้อของน้ำ ปริมาณน้ำที่กินเป็นตัวชี้วัดการกินอาหารได้ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ไก่จะกินน้ำประมาณ 2 เท่าของปริมาณอาหารที่กิน การตรวจคุณภาพน้ำ ทำอย่างไร
34
ตารางการปฏิบัติงานประจำวัน
8.00 น. เปิดน้ำท้ายเล้าทิ้ง เกลี่ยอาหารเที่ยวที่ 1 น. เกลี่ยอาหารเที่ยวที่ 2 น. ให้อาหารวันละครั้ง ตามอายุการไข่ เก็บไข่วันละ 1 ครั้ง ทำความสะอาดรางอาหาร ตักมูลไก่ น. เกลี่ยอาหารเที่ยวที่ 3 สรุปรายงาน
35
ความสัมพันธ์ของน้ำหนักไข่อาหารที่ใช้
เบอร์ 0 น้ำหนักไข่ > 70 กรัม เบอร์ 1 น้ำหนักไข่ กรัม เบอร์ 2 น้ำหนักไข่ กรัม เบอร์ 3 น้ำหนักไข่ กรัม เบอร์ 4 น้ำหนักไข่ กรัม เบอร์ 5 น้ำหนักไข่ กรัม เบอร์ 6 น้ำหนักไข่ กรัม การสุ่มชั่งน้ำหนักไข่เพื่อนำไปคำนวณเปรียบเทีบกับค่ามาตรฐานของบริษัท
36
3.8 การจัดการผลผลิต เมื่อเก็บไข่ไก่จากเล้าแล้ว ควรใส่ถาดใข่แล้วนำไปจัดเก็บไว้ในโรงคัดไข่ การคัดเกรดไข่ตามขนาด เล็ก / กลาง / ใหญ่ ตามความเหมาะสม ควรนำไข่บางส่วนไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานเฉลี่ยสัปดาห์ละ 3 ฟอง/คน (โดยใช้เงินจากกองทุนอาหารกลางวันมาซื้อไข่ไก่) ส่วนที่เหลีอจากการประกอบอาหารให้นำไปจำหน่าย โดยเน้นการขายปลีก ฟองละไม่ต่ำกว่าต้นทุน (2.20 บาท/ฟอง) แต่ไม่ควรแพงกว่าราคาขายปลีกในหมู่บ้าน (3 บาท / ฟอง) โดยซื้อ – ขาย เป็นเงินสด
37
กรณีวันหยุด ต้องมีการวางแผนการจัดการผลผลิตโดยนำไปเสนอขายให้กับผู้ปกครองเพื่อให้เด็กนักเรียนรับประทานที่บ้านเป็นประจำ / วันเว้นวัน สำหรับไข่บุบ / แตก / นิ่ม อาจจะนำมาเป็นค่าแรงเลี้ยงไก่ หรือรางวัลของเด็กนักเรียนที่รับผิดชอบการเลี้ยงไก่ไข่ก็ได้ กรณีการนำไปขายหรือจัดจำหน่ายควรผ่านสหกรณ์ของโรงเรียน ควรมีการเช็ดสต็อกการรับไข่จากเล้าไก่เป็นประจำ และเช็คสต๊อกการจำหน่าย และไข่คงเหลือเป็นประจำ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.