ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
การเทียบเคียงฤทธิ์ของยาสมุนไพรตามระบบแพทย์แผนปัจจุบัน : ระบบทางเดินหายใจ ผลึกพล ตาบทิพย์วรรณ
2
โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
เภสัชวิทยา (Pharmacology) โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย ไข้หวัด หอบหืด
3
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Common cold ไข้หวัด (Common cold) เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่มากกว่า 100 ชนิด มักเป็นเชื้อไวรัส Rhinovirus บ่อยที่สุด ผู้ใหญ่มักเป็น 2-4 ครั้งต่อปี เด็ก 6-8ครั้งต่อปี หายได้เองใน 1 สัปดาห์ หรือถ้ารักษา จะรักษาตามอาการ เมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่เยื่อบุโพรงจมูก เชื้อจะเกาะและเข้าสู่เซลล์เยื่อบุ แบ่งตัวเพิ่มจำนวนและทำให้เซลล์ถูกทำลายเกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงจมูก เยื่อบุบวมและแดง ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 1-3 วัน
4
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Common cold อาการไข้หวัด ไอ (Cough) เจ็บคอ (Sore throat) จาม (Sneezing) คัดจมูก (Nasal congestion) น้ำมูกไหล (Rhinorrhea) มีไข้ (Fever) ปวดศีรษะ (Headache)
5
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Nasal congestion / Rhinorrhea เชื้อ/สิ่งสร้างการระคายเคือง ระคายเคือง คัดจมูก เยื่อบุเริ่มอักเสบ หลั่งน้ำมูก/น้ำมูกไหล
6
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Nasal congestion ยาแผนปัจจุบัน Pseudophedrine ยาในกลุ่ม sympathomimetic ออกฤทธิ์ต่อระบบส่วนกลาง ทำให้กระตุ้นทั้ง Alpha และ beta receptor ทำให้เกิด vasoconstriction (การบีบตัวของหลอดเลือด) ทำให้เยื่อบุบวมลดลง และคัดจมูกลดลง
7
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Nasal congestion ยาแผนปัจจุบัน Xylometazoline ยาในกลุ่ม sympathomimetic เช่นเดียวกัน แต่เป็นแบบ tropical ออกฤทธิ์โดยตรงต่อโพรงจมูกทำให้หลอดเลือดที่โพรงจมูกเกิด vasoconstriction สามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่าแบบแรก
8
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Nasal congestion
9
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Rhinorrhea Rhinorrhea ยาแผนปัจจุบัน Antihistamine (H1 –receptor antagonist) Allergic inflammation Mediator release ยาแบบง่วงนอน Chlorpheniramine ยาแบบไม่ง่วงนอน Fexofenadine
10
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
H1 receptor antagonist Histidine Histamine synthesis inhibitors Histamine Histamine release inhibitors Histamine release Histamine receptor Antagonist Histamine receptor Reaction Reaction inhibitions
11
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Rhinorrhea
12
ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล
เภสัชวิทยา (Pharmacology) ยาสมุนไพรที่ใช้รักษาอาการคัดจมูก น้ำมูกไหล หอมแดง Allium ascalonicum Linn. Essential oil รสร้อน Glycoside :quercetin – inhibit the release of histamine and reduce inflammation
13
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Cough ไอ (Cough) กำจัดสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ ขับเสมหะ Cough reflex จะเกี่ยวข้องกับ CNS, PNS และกล้ามเนื้อเรียบของ bronchial
14
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Cough
15
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Cough ไอ Cough ยาแผนปัจจุบัน Cough suppressant (Dextromethorphan) เป็นอนุพันธ์ของ Codeine มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทหลายอย่าง แต่ที่ต้องการคือกดประสาท CNS ทำให้ไอยาก หรือลดอาการไอลง ถ้า Dose สูงมากๆ จะทำให้เกิด CNS depression ได้ เกิดปรากฏการณ์ของ Drug abuse บ่อย โดยเฉพาะวัยรุ่น
16
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Cough ไอ Cough สมุนไพร เคลือบเยื่อบุทางเดินหายใจเหนือกล่องเสียง ลดการระคายเคืองและรู้สึกชุ่มคอ เช่นน้ำผึ้ง รากชะเอม(Glycyrrhiza glabra L.) รสเปรี้ยว กัดเสมหะ, High vitamin C เช่น มะนาว มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) เพิ่มการขับเสมหะ เช่น มะแว้งต้น(Solanum indicum) มะแว้งเครือ (Solanum trilobatum)
17
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Cold Common cold สมุนไพรสำหรับ Common cold ฟ้าทะลายโจร Andrographis paiculate Anti-inflamamtion Antipyretic effect Antiviral effect Immunostimulation Effect in early acute upper respiratory infection
18
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma Bronchoconstriction การตีบของหลอดลม Respiratory hypersensitivity Airway inflammation Factors Allergens Air pollution Passive smoking
19
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma
20
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma
21
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma Pharmacotherapy Relax bronchial smooth muscle Inhibit airway inflammation to control disease
22
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน Bronchodilators ขยายหลอดลม B2 – agonist Anticholinergic
23
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน β2 – agonist β2 receptor พบมากในปอด Inhibit the release of inflammatory mediator แบบ Short-acting : Terbutaline, Albuterol แบบ Long-acting : Salmeterol
24
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma
25
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma ยาแผนปัจจุบัน Anticholinergic Block muscarinic receptor: M3 receptor Inhibit Ach release Ipratropium bromide
26
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma
27
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma สมุนไพร ปีป (Millingtonia hortensis Linn.f.) ใช้ใบ ดอกแห้ง สาร Flovonoid : hispidulin hortensin* วิธีใช้ มวนสูบ
28
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma หอบหืด Asthma สมุนไพร ลำโพงขาว (Datura metel Linn.) ใช้ ดอกแห้ง สาร Alkaroid: atropine, hyoscine*,hyoscyamine Anticholinergic วิธีใช้ มวนสูบ
29
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Asthma
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.