ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAmie McLaughlin ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต THE NEXT INDUSTRIAL REVOLUTION โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกลุ่มบริษัท V-SERVE GROUP วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน 2559 เวลา 9.30–10.30 น. ณ ห้องราชาวดี โรงแรมทีเค.พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น
2
ความสำคัญของอุตสาหกรรมการผลิต ต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย
PRODUCTION VALUE CHAIN โซ่มูลค่าการผลิตทางตรง/อ้อม การนำเข้าวัตถุดิบ วัตถุดิบอุตสาหกรรม วัตถุดิบเกษตรกรรม วัตถุดิบประมง/ปศุสัตว์ วัสดุสิ้นเปลือง LABOUR FORCE กำลังแรงงานของประเทศ 38.31 ล้านคน อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน การนำเข้าสินค้าทุน DOMESTIC CONSUME บริโภคภายใน สัดส่วน/จีดีพี 51% EXPORT/ส่งออก เงินตราต่างประเทศ สัดส่วน/ จีดีพี 55-60% SERVICE SECTOR ภาคบริการต่อเนื่องโลจิสติกส์+การเงิน+การศึกษา+การท่องเที่ยว สัดส่วน/ GPP (รวม) 51% NEW EMPLOYMENT การจ้างงานในอนาคต RETAIL & WHOLESALING ค้าปลีก-ส่ง สัดส่วน/ จีดีพี 13.4% GOVERNMENT EXPENSE ภาษีและรายได้ของรัฐ สัดส่วน/ จีดีพี 20% การลงทุน TDI/FDI สัดส่วน/จีดีพี 10.54% SUPPORT INDUSTRYอุตสาหกรรม ต่อเนื่อง MANUFACTURINGอุตสาหกรรมการผลิต สัดส่วน/จีดีพี 39.2 % RAW MATERIALวัตถุดิบ LABOUR แรงงานภาคอุตสาหกรรมจำนวน 6.41 ล้านคน LABOUR แรงงานภาคอุตสาหกรรมจำนวน 6.41 ล้านคน ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์
3
สถานะภาพอุตสาหกรรมไทย ยังทรงตัวในอัตราต่ำกว่าศักยภาพ (ม.ค.-มิ.ย.59)
สถานะภาพอุตสาหกรรมไทย ยังทรงตัวในอัตราต่ำกว่าศักยภาพ (ม.ค.-มิ.ย.59) อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย (%) 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ 2.เม็ดพลาสติก 3.แผงวงจรไฟฟ้า 4.เครื่องจักรกล 5.ผลิตภัณฑ์ยาง 6.เคมีภัณฑ์ 7.เหล็กและผลิตภัณฑ์ 8.เครื่องใช้ไฟฟ้า 9.เครื่องรับวิทยุ-โทรทัศน์ 10.เครื่องนุ่งห่ม 11.ผ้าผืน 12.เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมส่งออกถดถอย (%) 13.โทรศัพท์-อุปกรณ์ 14.จักรยานยนต์ 15.กระดาษและผลิตภัณฑ์ 16.เลนส์ 17.หม้อแปลงไฟฟ้า 18.เฟอร์นิเจอร์ 19.อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 20.อาหารสัตว์ 21.ผลิตภัณฑ์ข้าว 22.ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง
4
เครื่องชี้วัดอุตสาหกรรมไทย GDP ทั้งปี (ประมาณ) 3.2%
1. ส่งออก (ก.ค.) % (ม.ค.-ก.ค %) 2. ส่งออกอุตสาหกรรม (ม.ค.-มิ.ย. 59) % ส่งออกอุตสาหกรรม ปี % ส่งออกอุตสาหกรรม ปี % 3. กำลังการผลิตอุตสาหกรรม (Q2) % (Q1 = %) 4. MPI (Q2) % ดัชนีการผลิต (ส.ค.) % 5. การลงทุนเอกชน (Q2) % (Q1 = -1.4%) การลงทุนรัฐ (Q2) % ดัชนีการลงทุน (ส.ค.) % FDI สุทธิ (Q2) ล้านUSD 6. นำเข้าสินค้าทุน (Q2) % (สุทธิ -5.1 %) 7. เงินเฟ้อ (ส.ค. 59) % (ม.ค.-ส.ค %) 8. ดัชนีสั่งซื้อ (ธปท. ส.ค. 59) % 9. ดัชนีผลประกอบการ (ส.ค.) % 10. ว่างงาน (Q2) % (Q2 = 0.88%)
5
อุตสาหกรรมในอนาคต (1) 1 อุปสงค์ที่เปลี่ยนแปลงและรวดเร็ว (DEMAND CHANGE & FAST) สินค้าล้ำยุค มาเร็ว-ไปเร็ว การจัดส่งสินค้าจะเป็นแบบเรียลไทม์ช่องทางจำหน่ายผ่านทางสมาร์ทโฟน 2 เครื่องจักรอัจฉริยะ (SMART MATCHINE) ควบคุมโดยหุ่นยนต์ (MECHATRONICS& ROBOTIC INDUSTRY) รถยนต์ในอนาคตจะขับเองมีการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ทั้งในธุรกิจและบ้าน การรักษาความปลอดภัย เช่น รปภ.และด้านการทหารแห่งอนาคต 3 โรงงานอัจฉริยะ (SMART FACTORY) อุตสาหกรรมในอนาคตจะขับเคลื่อนจากความต้องการแบบเฉพาะเจาะจง (UNIQUE) ทำให้การจัดส่งและโลจิสติกส์มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สมาร์ทโลจิสติกส์ ในสายการผลิตภายใต้อุปสงค์แบบยูนิคและการขาดแคลนแรงงาน 4 อุตสาหกรรมสะอาด (GREEN INDUSTRY) การให้ความสำคัญด้านสิ่งแวดล้อมจะเป็นปัจจัยพื้นฐานของสินค้าและอุตสาหกรรม เกี่ยวข้องกับข้อมูล การตรวจสอบย้อนกลับของผู้บริโภค
6
อุตสาหกรรมในอนาคต (2) 5 อุตสาหกรรมเพื่อสุขภาพ (HEALTH CARE AGE)โลกแห่งอนาคตมนุษย์จะอายุยืนขึ้น โดยผู้บริโภคจะให้ความสำคัญต่ออาหารและสินค้าเพื่อสุขภาพ ความต้องการสินค้าที่ปลอดสารพิษจะก่อให้เกิดอุตสาหกรรมเพื่อสุขภาพ 6 อุตสาหกรรมเชื่อมโยงอวกาศและดาวเทียม (SPACE & SATELLITE) อุตสาหกรรมในอนาคตจะเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอวกาศเชิงพาณิชย์ การใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าดาวเทียมและอวกาศ จะเข้ามาสู่อุตสาหกรรมมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 7 อุตสาหกรรมชีวภาพ (BIO-TECH INDUSTRIAL) โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์และวัสดุสิ้นเปลืองต่างๆ สำหรับประเทศไทยอุตสาหกรรมไบโอ-พลาสติก (BIO-PLASSTIC) จะเป็นโอกาสเพราะเป็นแหล่งวัตถุดิบ เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ข้าว ปาล์มน้ำมัน ฯลฯ 6/22
7
NEW ENGINE INDUSTRIES โมเดลประเทศ 4.0 ต่อการก้าวสู่เศรษฐกิจใหม่
1. อุตสาหกรรมใหม่ (FIRST & NEW S-CURVE MANUFATURING) เป็นอุตสาหกรรมซึ่งเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค ในอนาคต 2. อุตสาหกรรมดิจิทัล (DIGITAL INDUSTRY) เช่นเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีสมองกล (เจ้าภาพสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) 3. อุตสาหกรรมนวัตกรรมและการออกแบบ (INNOVATION & DESIGN INDUSTRY) เช่น เครื่องจักร-อุปกรณ์ไฮเทค อัจฉริยะ และหุ่นยนต์ประเภทโรโบติก (เจ้าภาพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) 4. อุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพ (BIO-BASED INDUSTRY CLUSTER) เช่น กลุ่มอาหาร เกษตรแผนใหม่ เทคโนโลยีชีวภาพ (เจ้าภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) 5. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ที่ดี (WELLNESS INDUSTRY CLUSTER) ทั้งด้านสุขภาพ สาธารณสุข การ ท่องเที่ยว และเครื่องทุ่นแรงในบ้าน (เจ้าภาพมหาวิทยาลัยมหิดล) 6. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ทางปัญญา (WISDOM CREATIVE ECONOMY) เช่น การสร้างมูลค่าเพิ่มงานวิจัย และพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาชาวบ้าน งานด้าน ศิลปกรรม วัฒนธรรม (เจ้าภาพมหาวิทยาลัยศิลปากร)
8
เปรียบเทียบ อุตสาหกรรม & ไทยแลนด์ 4.0
ยุค/AGE พ.ศ. ค.ศ. อุตสาหกรรม 4.0 ไทยแลนด์ 4.0 ยุคที่ 1 การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 (STEAM-HYDRO POWER) เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากเครื่องจักรกลไอน้ำใช้ในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การขนส่งทั้งถนน ราง และทางน้ำ ทำให้ขยายตลาดในพื้นที่ห่างไกลเป็นยุคขยายอาณานิคมของชาติตะวันตก ปฏิรูปเศรษฐกิจครั้งที่ 1 (AGRICULTURE VALUED BASE)เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากการส่งออกสินค้าเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติในลักษณะสินค้าขั้นต้น (PRIMARY GOODS) หรือมีการแปรรูปพื้นฐาน สินค้าส่งออกหลัก เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ไม้สัก ดีบุก ฯลฯ ระยะเวลา 85 ปี ระยะเวลา 9 ปี ยุคที่ 2 การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (ELECTRIC POWER) เข้าสู่ยุคการผลิตด้วยกระแสไฟฟ้า มีการนำมอเตอร์เข้ามาใช้ในเครื่องจักร และเครื่องทุ่นแรงมีการมใช้พลังงานจากฟอสซิล เป็นยุคของระบบการผลิตด้วยสายพานการผลิตเป็นลักษณะ MASS PRODUCTION และสู่ยุคย้ายฐานการลงทุนข้ามชาติจากประเทศที่พัฒนาแล้วไปสู่ประเทศที่มีต้นทุนต่ำ ปฏิรูปเศรษฐกิจครั้งที่ 2 (LIGHT & LABOUR INTENSIVE BASE) เริ่มต้นจากการจัดตั้งกระทรวงอุตสาหกรรม เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากอุตสาหกรรมเบา ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีขั้นต้นการแปรรูปสินค้าเกษตร การขยายโครงสร้างพื้นฐานทั้งขนส่งและอุตสาหกรรม มีการลงทุนจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมผ้าผืน เครื่องนุ่งห่ม อุตสาหกรรมซีเมนต์ แปรรูปอาหาร เริ่มต้นเข้าสู่ยุคการส่งออกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ระยะเวลา 99 ปี ระยะเวลา 45 ปี ยุคที่ 3 การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่3(COMPUTER & INFORMATION TECNOLOGY) เข้าสู่ยุคคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มจากระบบสื่อสารมีการนำเข้ามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมและพัฒนาเป็นเครื่องจักรอัตโนมัติหลายอุตสาหกรรมมีการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้แทนคน มีการใช้นวัตกรรมการจัดการซัพพลายเชนนำไปสู่การผลิตแบบ LEAN PRODUCTION ผสมผสานการผลิตเครื่องจักร คอมพิวเตอร์ ไอที ปฏิรูปเศรษฐกิจครั้งที่ 3 (EXPORT VALUE BASE) เริ่มต้นจากโครงการ EASTERN SEABOARD เกิดอุตสาหกรรม ปิโตรเคมิคอล อุตสาหกรรมเส้นใยสังเคราะห์ เป็นยุคทองของการเคลื่อนย้ายการลงทุน และการส่งออก เช่น อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์-แผงวงจร ทำให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออกอันดับ 5 ของเอเชียแต่ในช่วง 10 ปีสุดท้าย(พ.ศ ) ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยลดน้อยถอยลง ระยะเวลา 46 ปี ระยะเวลา 25 ปี ยุคที่ 4 การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่4(INDUSTRIAL FUTURE)อุตสาหกรรมแห่งอนาคตจะให้ความสำคัญด้านสิ่งแวดล้อมในระดับสูงสุด การเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต IoT เข้ามาในชีวิตประจำวันของคนทำให้เกิดสังคมดิจิทัล ระบบการผลิตยกระดับเป็นแบบอัจฉริยะ และการผลิตอัตโนมัติชั้นสูงควบคู่กับ “INTELLIGENT ROBOTIC” จะเป็นพื้นฐานของอุตสาหกรรมใหม่ 4.0 ปฏิรูปเศรษฐกิจครั้งที่ 4 (THAILAND 4.0)เริ่มต้นจากการเปิดตัวยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยนำระบบการขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบดิจิทัลและอัจฉริยะเข้ามาใช้ในภาคราชการ ด้านอุตสาหกรรม การเงินและบริการ ซึ่งจะยกระดับไปสู่ “HIGH VALUE SERVICE” และการนำไบโอเทคเข้ามาใช้ในภาคเกษตรเพื่อยกระดับรายได้ของประชาชนให้เพิ่มขึ้น 3.64 เท่า ระยะเวลา 20 ปี ระยะเวลา 20 ปี
9
การขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทย 20 ปีข้างหน้า
NEXT INDUSTRY REVOLUTION การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 (พ.ศ ) NEW ECONOMIC CONTEXT เศรษฐกิจไทยก้าวผ่านสู่ยุคใหม่ไทยแลนด์ 4.0 (พ.ศ ) MOVE FORWARD STRATEGY ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มั่นคง-มั่งคั่ง-ยั่งยืน (พ.ศ ) การผลิตแบบเทคโนโลยีอัตโนมัติผ่าน เครือข่ายดิจิทัล (IoT)และเครื่องจักร/ หุ่นยนต์อัจฉริยะฉลาดคิด รายได้ประชากรปี 2564 เพิ่มจาก 4,121 เหรียญสหรัฐ/คน เป็น 8,200 เหรียญ สหรัฐ/คน ทรงตัวเป็น 2 เท่า รายได้ประชากรปี 2579 รายได้เฉลี่ยต่อ คน 15,000 เหรียญสหรัฐ หรือเพิ่ม เท่าจากปัจจุบัน เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ ทั้งด้านเกษตร-อุตสาหกรรม และ การแพทย์ อุตสาหกรรมฐานชีวภาพและเกษตรกรรม ยุคใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( ) อุตสาหกรรมดิจิทัล - นวัตกรรม และ ออกแบบ สังคมดิจิทัลและเมืองดิจิทัล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( ) การเข้าสู่ยุคพลังงานทางเลือก (Green Energy) อุตสาหกรรมใหม่และปรับสถานะแข่งขัน ใหม่ (First & New S-Curve) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 14 ( ) ขีดความสามารถในการเข้าถึงนวัตกรรม และการเปลี่ยนโครงสร้างการค้าใหม่ อุตสาหกรรมใหม่ และเทคโนโลยีใหม่ เศรษฐกิจสร้างสรรค์และเศรษฐกิจเปิด แข่งขันรุนแรงทั้งอุตสาหกรรม - บริการ - เกษตรกรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 ( ) ผลกระทบต่อการดำรงอยู่ของธุรกิจ-อุตสาหกรรม-SME ของไทย เกี่ยวข้องกับความสามารถในการปรับเปลี่ยนขีดความสามารถ ในการแข่งขันให้สอดคล้องกับสถานะภาพที่เปลี่ยนไป
10
THE NEXT INDUSTRIAL REVOLUTION ทำไมผู้ประกอบการจึงต้องให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรม 4.0
1. บริบทใหม่ของการค้า-อุตสาหกรรม-บริการจะเปลี่ยนไปจากเดิม NEW CONTEXT BUSINESS เป็นยุคของ การเชื่อมโยงนวัตกรรมและเทคโนโลยีอัจฉริยะ การเชื่อมโยงอุตสาหกรรมการผลิตจะยกระดับจาก SUPPLY CHAIN ไปสู่ VALUE CHAIN 2. ความสามารถในการสนองตอบความต้องการในอนาคตในรูปแบบใหม่ ซึ่งเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว มาเร็ว ไปเร็ว การค้าผ่าน MULTIMEDIA & DIGITAL จะมีสัดส่วนไม่ต่ำกว่า 1/3 ของรูปแบบการจับ-จ่าย-ใช้สอยของ ผู้บริโภค 3. การแข่งขันทั้งด้านราคาและรูปแบบธุรกิจจะรุนแรงขึ้น ธุรกิจในอนาคตหากไม่เป็น MEGA BUSINESS ก็ต้อง เป็น SMART BUSINESS ตลาดภายในจะเปิดกว้างผ่าน AEC การค้าข้ามแดนจะโตขึ้น ขณะที่การส่งออกจะมีผู้ เล่นรายใหม่ซึ่งมีศักยภาพเหนือกว่าเข้ามาแย่งสัดส่วนการตลาด การค้าโลกจะให้ความสำคัญ “GLOBAL WARMING” และมาตรการซึ่งไม่ใช่ภาษีในรูปแบบใหม่ 4. ความเสี่ยงของอุตสาหกรรมตกยุค (EXTINCT INDUSTRY) การเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 เกี่ยวข้องกับการมี เทคโนโลยีใหม่ การมมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง ขีดความสามารถในการเชื่อมโยงทั้ง VALUE CHAIN ธุรกิจ SME และผู้ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงโอกาสอาจต้องออกจากตลาด 5. อุตสาหกรรม 4.0 กับการขับเคลื่อนกลยุทธ์ THAILAND 4.0 จะต้องมีความสอดคล้องมีกระบวนการในการ ขับเคลื่อนภายใต้ ศักยภาพของผู้ประกอบการและทรัพยากรมนุษย์ซึ่งแตกต่างกัน เกี่ยวข้องกับความสามารถใน การปรับตัวให้เข้ากับเศรษฐกิจใหม่
11
อุตสาหกรรม 4.0 กับ LEAN MANUFACTURING
LEAN PRODUCTION : เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพกระบวนการผลิต 1. REUSE PRODUCTION ระบบการผลิตให้ความสำคัญกับการผลิตที่ไม่มีส่วนเกิน (SURPLUSLESS) ในทุกกระบวนการผลิต โดยมีกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่ทั้ง REUSE , RECYCLE , RE-PROCESS 2. NON VALUE-ADDED (NVA)การขจัดส่วนเกินซึ่งไม่มีคุณค่าในทุกกระบวนการซึ่งทำให้เกิดความ ลดสูญเปล่าและสินค้าตกคุณภาพด้วยการมีระบบ QCC และ QA 3. GREEN MANUFACTURING ขจัดส่วนสูญเสียจากการผลิต,ลดพลังงานที่สูญเปล่า (WASTE & ENERGY LOST), การปล่อยเศษซากของเสียสู่อากาศ-ดิน-น้ำ (SCRAP & POLLUTION) 4. SUPPLY CHAIN COLLABORATION การร่วมมือในโซ่อุปทานการผลิต โดยการขจัดเวลาสูญเปล่าใน กระบวนการผลิตและรอสินค้า (LEADTIME LOST) ซึ่งทำให้เกิดสต๊อกส่วนเกินโดยการผสมผสานกับ ระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ การมีระบบประกันเวลาทำให้การส่งมอบเป็น REAL TIME DELIVERY 5. BOTTLE NECK & PRODUCTIVE ขจัดคอขวดในสายการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพการทำงาน ในช่วงข้อต่อใน สายการผลิตจากกิจกรรมหนึ่งไปอีกกิจกรรมหนึ่งทั้งภายในและภายนอก เกี่ยวข้องกับการสื่อสารผ่านระบบ IT และการเข้าถึงข้อมูลแบบ IoT 6. LEAN ASSESSMENT & LEAN THINKING กิจการประเมินผลและแนวคิดการปรับเปลี่ยนการทำงานโดยการใช้ เครื่องมือต่างๆ เช่น BALANCE SCORECARD
12
อุตสาหกรรม 4.0 การยกระดับ LEAN PRODUCTION สู่ CYBER-PHYSICAL PRODUCTION (2)
1. SMART TECHNOLOGY เทคโนโลยีอัจฉริยะ เป็นการผลิตแบบผสมผสานกับเทคโนโลยีก้าวหน้า 2. DIGITAL & INTELLIGENT การผลิตไปสู่ระบบอัตโนมัติล้ำยุค “AUTONOMOUS PRODUCTION” คือการประหยัดจากเครื่องจักรอัตโนมัติ และหุ่นยนต์ฉลาดคิดเข้ามาแทนคน 3. VALUE CHAIN CONNECTIVITY การเชื่อมโยงตลอดโซ่แห่งคุณค่าแบบ ORIGIN TO ORIGIN ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบนเครือข่าย IoT ทั้งกับโซ่อุปทานการผลิตและผู้บริโภค 4. REALTIME PRODUCTION & DELIVERY ON DEMAND เครื่องจักรอัจฉริยะ จะสั่งงานและรับ คำสั่งด้านการผลิต-การจัดซื้อ และการส่งมอบสินค้า-บริการข้ามระหว่างธุรกิจและการเชื่อมโยงกับ การค้าปลีก-ค้าส่งแบบ ONLINE 5. INNOVATION DRIVEN การผลิตที่ให้ความสำคัญต่อนวัตกรรมเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งจะทำให้เกิดการประหยัดต้นทุนทั้งจากแรงงานและลดความสูญเสียจากความผิดพลาดที่เกิดจากมนุษย์ 12/22
13
โลจิสติกส์แห่งอนาคต Logistics 4.0 Key Success Achievement
โครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์ Logistics Infrastructure Domestic Transport Express Transport การขนส่งอิเล็กทรอนิกส์ จะมีบทบาทสำคัญในอนาคต 4.0 Road Transport 86% Point To Point Delivery สะดวก - รวดเร็ว Rail Transport 4% Place To Place Delivery ต้องมี ICD -ต้นทุน Lift On-lift Off River & Coastal Transport 7-10% Port To Port Delivery ต้องมีท่าเรือ -ต้นทุน Lift On-lift Off โซ่การผลิตอุตสาหกรรม 4.0 Manufacturing Supply Chain Global Standard Conforming การสอดคล้องระบบมาตรฐานโลจิสติกส์ ในระดับสากลและ Green Logistics เป็น เงื่อนไขการรับงาน 4.0 Lean & Cyber Manufacturing Logistics Value Chainโซ่แห่งคุณค่าโลจิสติกส์ใน อุตสาหกรรม 4.0 Customized Delivery การจัดส่งแบบ เฉพาะเจาะจงและอัจฉริยะในโซ่อุปทาน การผลิต 4.0ให้สามารถตอบสนองความ ต้องการที่หลากของ New Industry Digital IoT & Smart Process การบริหาร จัดการเทคโนโลยีใหม่ ในโซ่คุณค่า โลจิสติกส์เพื่อการรับ-ส่งสินค้าผ่านข้อมูล และ Smart Application ตลอดโซ่แห่งคุณค่า การกระจายสินค้าสู่ผู้บริโภคแห่งอนาคต Cargoes Value Chain Distribution AcrossWholeSelling - Detailing Innovation & Intelligent Logistics โลจิสติกส์แห่งอนาคตเกี่ยวกับ นวัตกรรมและการสนองความต้องการ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว E-Autonomous Fulfilled การรับออเดอร์และการเติมเต็มสินค้า ผ่านการเชื่อมโยงอิเล็กทรอนิกส์ IoT Digital Delivery การกระจายสินค้ารองรับ การค้าอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะเป็นมากกว่า ร้อยละ 30 ของปริมาณการค้าปลีก Niche & Origin to Origin สังคมดิจิทัลการส่งมอบสินค้าจาก โรงงานถึงผู้บริโภคจะมีความซับซ้อน
14
โจทย์การพัฒนาไทยแลนด์ 4.0 ด้านทรัพยากรมนุษย์
1. Awareness & Vision 4.0 ผู้ประกอบการและผู้บริหารระดับสูงเป็นกลุ่มแรกที่จะต้องตระหนักรู้-วิสัยทัศน์ใหม่ 2. New Context Business Change & Fast การเปลี่ยนบริบทใหม่ของรูปแบบการค้า-อุตสาหกรรม ประสบการณ์ในอดีตอาจใช้ไม่ได้ผลในอนาคต 3. Effect & Crash ผลกระทบประเมินผลกระทบที่มีต่อธุรกิจโดยต้องมีระบบการกระจายข้อมูลให้กับพนักงานในระดับ ที่เหมาะสม 4. SWOT Analysis การจัดทำวิเคราะห์ประเมินจุดแข็ง-จุดอ่อน-โอกาส-ภัยคุกคาม ทั้งกับลูกค้า-ซัพพลายเออร์ และ ภายในองค์กร 5. Strategy & Business Plan 4.0 จัดทำยุทธศาสตร์และแผนธุรกิจเพื่อให้องค์กรเข้าถึงโอกาสการเปลี่ยนแปลง 6. Opportunities or Disaster ไทยแลนด์และอุตสาหกรรม 4.0 เป็นทั้งโอกาสของบางธุรกิจและหายนะของบางธุรกิจ 7. Change & Conform การเปลี่ยนแปลงองค์กรแบบยกเครื่องให้ธุรกิจยังอยู่รอดในโลกใหม่ทางธุรกิจ 8. People are Core Success คนคือหัวใจของความสำเร็จ
15
การจัดกลุ่มทำ Work Shop
“การปรับเปลี่ยนเพื่อขับเคลื่อนองค์กรสู่เศรษฐกิจใหม่ V-SERVE 4.0” ว่าที่ รต.ดร. ธเนศ โสรัตน์ ประธานควบคุมการจัดทำ Work Shop Up Date : เวลา น. กลุ่ม 1 หัวหน้ากลุ่ม : คุณศันสนีย์ กลุ่ม 2 หัวหน้ากลุ่ม : คุณธนากร กลุ่ม 3 หัวหน้ากลุ่ม : คุณศิวกร กลุ่ม 4 หัวหน้ากลุ่ม : คุณสุริยา หัวหน้ากองเลขาฯ คุณเอกอนงค์ คุณประยุทธ ที่ปรึกษา คุณธนวัฒน์ ที่ปรึกษา คุณปัทมา ที่ปรึกษา คุณทิพวรรณ ที่ปรึกษา คุณสุชาทิพย์ ที่ปรึกษา คุณองอาจ รองหัวหน้ากลุ่ม คุณชัยมงคล รองหัวหน้ากลุ่ม คุณนภษร รองหัวหน้ากลุ่ม คุณสาธิต รองหัวหน้ากลุ่ม กองเลขานุการ 1. คุณจิตตรา 2. คุณนฤมล 3. คุณกฤติยาณี 4. คุณพชร ผลการประเมินแบบสอบถาม ผลการประเมินแบบสอบถาม ผลการประเมินแบบสอบถาม ผลการประเมินแบบสอบถาม แบบฟอร์ม A Supervisor-Foreman-Junior Level แบบฟอร์ม B Chief & Manager Level แบบฟอร์ม A Supervisor-Foreman-Junior Level แบบฟอร์ม B Chief & Manager Level ผลจาก SWOT (Strength ) ผลจาก SWOT (Weakness ) ผลจาก SWOT (Strength ) ผลจาก SWOT (Weakness ) ระดับ Manager คุณรุ่งนิภา / CS ขาเข้า คุณอนุกูล / DCC คุณเกษมศรี / ขนส่ง คุณณัฐณิจชา/ Sale คุณเตือนจิต / คลัง คุณจิระศักดิ์/ ขนส่ง (ใต้) ระดับ Manager คุณวีรวรรณ / CS ขาออก คุณสุริยันต์ / OP ขาเข้า คุณเอกอนงค์ / ยุทธศาสตร์ คุณสมศักดิ์ / คลัง คุณอังคณา /Sale (ใต้) ด้าน Support IT คุณปรัญชา ระดับ Manager คุณพิมพ์จี / CS ขาออก คุณจักริน / ต่างประเทศ คุณปิยะภรณ์ / Sale คุณอิสราพร / บัญชี คุณสำเริง / คลัง คุณสุจารี / สุราษฏร์(ใต้) ระดับ Manager คุณปุญญพัฒน์ / Inspect คุณมานะ / LCB คุณศุภรัศมิ์ / Sale คุณเพชรนิล / IT คุณจิราวรรณ / บัญชี (ใต้) ระดับ Chief คุณกัลยาณ์ / CS ขาออก คุณนงลักษณ์ / CS LCB คุณอารีย์ / คืนอากร คุณนุชรี / บิลลิ่งขาเข้า คุณภัทรภรณ์/ CS DC คุณเกศริน / ธุรการตลาด คุณชินาภรณ์ / EDC ระดับ Chief คุณสุดที่รัก / Air Port คุณธนารัตน์ / OP Air Port คุณวีระศักดิ์ /OP LKB คุณชยพล / DC คุณสุนิศา / บิลลิ่ง คุณกนกวรรณ / บัญชี คุณพรชัย /Messenger ระดับ Chief 6. คุณโชคชัย / ต่างประเทศ 7. คุณอริสา / CS ขาออก 8. คุณธเวทย์ / CS Air Port 9. คุณกิตติพงษ์ / คืนอากร 10. คุณสุปราณี / บิลลิ่ง 11. คุณปรียา / จัดซื้อ-ธุรการ 12. คุณออระดี / บิลลี่ง 13. คุณอนงค์ภัทร์ (CS ขาเข้า) ระดับ Chief คุณพรรณพัชร / CS ขาเข้า คุณธวัชชัย /OPขาเข้า คุณสุมาลี / การเงิน คุณจิราพร / บิลลิ่งขาออก คุณเฉลิมชัย / แม่สอด คุณธงชัย/ ขนส่ง คุณสมชาย/ศูนย์บริการต่อเนื่อง กลุ่มละ 20 คน x 4 กลุ่ม กองเลขา / สนับสนุน 11 คน ระดับSupervisor อาวุโส 14. คุณธีรพงษ์ / OP ขาเข้า ระดับ Supervisor อาวุโส 13. คุณธวัชชัย / วี-เวนทิส 14. คุณชาญชัย /OP ขาเข้า ระดับ Supervisor อาวุโส 14. คุณสุริยะชัย / OP ขาเข้า 15. คุณสุธาทิพย์ / CS ชดเชย ระดับ Supervisor อาวุโส คุณวีรพล / OP ขาเข้า คุณกันตินันท์ / CS คืนอากร ผู้สังเกตการณ์ 15. คุณอำนวย / วี-เวนทิส 16. คุณแพรวพรรณ / ที่ปรึกษา 17. คุณสุภาพร (Sale) ผู้สังเกตการณ์ 15. คุณบัวบูชา / Sale 16. คุณสมลักษณ์ / ขาออก 17. คุณทูล (สาขาพม่า) ผู้สังเกตการณ์ 16. คุณล้อมดาว / DC 17. คุณมนัสนันท์ / CS ขาเข้า ผู้สังเกตการณ์ 16. คุณวาสนา / ติดตามหนี้ 17. คุณอรวินท์ / ขนส่ง เลขาฯ คุณกฤติยาณี (กิ๊ก) เลขาฯ คุณจิตรา (จูน) เลขาฯ คุณนฤมล (มล) เลขาฯ คุณพชร (เจ)
16
การขับเคลื่อนไทยแลนด์ 4.0 เกี่ยวข้องกับการยกระดับแรงงานทั้งโครงสร้าง
จำนวนการจ้างงาน (Q1/ปี2559) ล้านคน แยกตามอาชีพ จำนวน (ล้านคน) ร้อยละ % เกษตรกรรมและประมง 11.154 30.35 ค้าปลีก-ค้าส่ง 6.392 17.39 อุตสาหกรรมการผลิต 6.30 17.14 การท่องเที่ยว-โรงแรม-ร้านอาหาร 2.145 5.83 โลจิสติกส์ 2.470 6.72 ก่อสร้างและอสังหา 2.801 7.62 การศึกษา 1.241 3.37 การบริหารราชการและความมั่นคง 1.599 4.35 โรงพยาบาลและสุขภาพ 0.709 1.92 ด้านการเงิน-ประกันภัย 0.540 1.46 วิชาชีพอิสระ 0.375 1.02 จ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล 0.221 0.60 มอเตอร์ไซค์รับจ้าง 0.170 0.46 ด้านการสื่อสารและสื่อมวลชน 0.243 0.66 อื่นๆ 0.384 1.04
17
คนคือหัวใจของเศรษฐกิจใหม่ การพัฒนาต้องสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
Under Standard Group กลุ่มคนรุ่นเก่าที่ต้องเปลี่ยนทักษะใหม่หมด Developing Group กลุ่มคนซึ่งมีศักยภาพต้องต่อยอดทักษะเดิม New Leader & Core Group กลุ่มคนซึ่งกำหนดเป็นแกนหลัก แต่ต้องต่อยอดทักษะเดิม Under Develop Group กลุ่มคนซึ่งไม่สามารถพัฒนาสู่ยุค 4.0
18
ประเทศไทยกับการเตรียมพร้อมเพื่อก้าวสู่อุตสาหกรรมใหม่ 4.0
การเข้าสู่อุตสาหกรรมใหม่เป็นวิสัยทัศน์ธุรกิจระยะยาว เกี่ยวข้องกับศักยภาพและการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การนำเข้าเทคโนโลยีใหม่ไม่มีสูตรสำเร็จ เทคโนโลยีชั้นสูงล้วนเริ่มต้นจากประเทศที่พัฒนาแล้วซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิบัตร การปรับโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงไม่เกิดในชั่วข้ามคืน ประเด็นสำคัญเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรทั้งเสริมจุดแข็งและแก้ปัญหาจุดด้อย เพื่อให้ยังคงมีความสามารถในการแข่งขันในแต่ละช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมในเวลาที่เหมาะสม การนำเข้าเทคโนโลยีล้ำยุคมีต้นทุนสูง หากลงทุนเร็วไปขณะที่ตลาดยังไม่ตอบสนองอาจเกินความจำเป็นไม่คุ้มค่าและมีภาระของต้นทุนเงิน อีกทั้งเทคโนโลยีในช่วงการเปลี่ยนถ่ายอาจยังไม่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงที่เร็วจึงควรเลือกที่เหมาะสมกับการแข่งขันและเหมาะสมกับแต่ละช่วงเวลา ความสามารถในการก้าวผ่านสู่การเปลี่ยนแปลง ทั้งนวัตกรรม-เทคโนโลยีใหม่ สภาพแวดล้อมธุรกิจใหม่ และการแข่งขันในรูปแบบใหม่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4.0 เป็นปัจจัยสำคัญต่อการปรับเปลี่ยนเกี่ยวข้องกับคนในองค์กรซึ่งทั้ง OLD GEN & NEW GEN จะไปด้วยกันได้อย่างไร 1 2 3 4 5 6
19
“THAILAND 4.0 ….. HOW TOGETHER”
ยุค 4.0 (New Gen. Human) ยุค 3.0 (Human 2000 Age) ยุค 2.0 (Human 1980 Age) ยุค 1.0 (Old Gen. Human) อุตสาหกรรมใหม่-ไทยแลนด์ 4.0 อุตสาหกรรม 4.0 ต้องขับเคลื่อนร่วมกับอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ ให้เศรษฐกิจที่แตกต่างกันสามารถร่วมไปด้วยกันสู่จุดหมายปลายทางเดียวกัน “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
20
การพัฒนาคงไม่ต้องการเห็นภาพเช่นนี้
ไทยแลนด์ 4.0 การพัฒนาคงไม่ต้องการเห็นภาพเช่นนี้
21
อุตสาหกรรม 4.0 เหรียญสองด้าน
เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา
22
END
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.