งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

2 ชนิดของต้นทุนกิจการอุตสาหกรรม Types of Product-Costing Systems
ต้นทุนงานสั่งทำ Job order Costing ต้นทุนกระบวนการ(ช่วง) Process Costing

3 ลักษณะสำคัญของวิธีการบัญชีต้นทุนงาน
1. สินค้าแต่ละคำสั่งการผลิตมีลักษณะแตกต่างกัน 2. สินค้ามักมีราคาสูง 3. ผลิตสินค้าตามคำสั่งลูกค้าเท่านั้น ไม่ผลิตเป็นจำนวนมากเพื่อรอขาย(Mass Production) 4. ใช้บัตรต้นทุนงานควบคุมต้นทุนการผลิตแต่ละคำสั่งแยกออก จากกัน ตัวอย่าง กิจการที่ใช้วิธีต้นทุนงานสั่งทำ - โรงพิมพ์ พิมพ์งานตามคำสั่งพิมพ์ของลูกค้า - ธุรกิจก่อสร้าง - ธุรกิจทนายความ

4 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ คือ วิธีการบัญชีเก็บรวบรวมและสะสมต้นทุน การผลิตของงานตามคำสั่งผลิตของลูกค้า เนื่องจากคำสั่งการผลิตแต่ละ งานจะแตกต่างกัน จึงจะต้องรวบรวมและสะสมต้นทุนแยกตามคำสั่งผลิต

5 ต้นทุนงานสั่งทำ (Job order costing) วิธีต้นทุนปกติ (Normal costs method)

6 องค์ประกอบต้นทุนผลิตภัณฑ์
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต ต้นทุนจริง จริง ต้นทุนปกติ ประมาณการ

7 สาเหตุการกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
1. ไม่มีต้นทุนใช้เพื่อกำหนดราคาสินค้าขึ้นล่วงหน้าเพื่อใช้ในการประมูลงาน 2. หากใช้วิธีต้นทุนตามจ่ายจริง กว่าจะทราบต้นทุนผลิตทั้งหมดจะต้องรอจนกว่า จะสิ้นงวดเนื่องจากมีค่าใช้จ่ายบางตัวถูกกำหนดด้วยงวดเวลา เช่น ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ยจ่าย เงินเดือนพนักงานประจำ เป็นต้น 3. ไม่มีข้อมูลเพื่อเตรียมสำหรับการวางแผนงานล่วงหน้า 4. นอกจากนี้การปิดบัญชีต้นทุนจ่ายจริงทุกเดือนจะมีข้อจำกัด ทางด้าน - ปริมาณขายที่เป็นฤดูกาล เกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอ เช่น เครื่องปรับอากาศขายดีหน้าร้อน มีปริมาณการผลิตมากต้นทุนการผลิตสูง การแบ่งต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนสินค้าต่ำกว่าที่ควร เพราะคิดเฉพาะต้นทุนคงที่ ที่เกิดขึ้นเฉพาะในเดือนนั้น - ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล เช่นค่าไฟฤดูร้อนสูงกว่าฤดูหนาว เป็นต้น

8 ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
คำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานขึ้นใช้ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต งบประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน นำอัตราไปใช้ในการคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนค่าใช้จ่ายผลิตเป็น = ปริมาณกิจกรรมตัวผลักดัน x อัตราค่าใช้จ่ายการ ส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ ต้นทุนเกิดขึ้นจริง ผลิตคิดเข้างาน

9 คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป
บัตรต้นทุนงาน บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ D /M WIP Goods คุมยอดค่าแรง D / L อัตราค่าใช้จ่าย การผลิตคิดเข้างาน A/OH ต้นทุนขาย ขาย ค่าใช้จ่ายการผลิต คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป ค่าใช้จ่ายขาย และบริหาร OH กำไรขาดทุน กำไรสะสม

10 วิธีต้นทุนปกติ (Normal Costs)
คือ การกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตไว้ล่วงหน้าเพื่อความสะดวก ในการปฏิบัติงาน ในด้านต่างๆ คำนวณต้นทุนอาคารชุด 10 ชั้น เพื่อกำหนดราคายื่นซองประกวดราคา ต้นทุนสินค้าประกอบด้วย : วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต แต่เราไม่รู้ค่าใช้จ่ายการผลิตนี่!! ต้องรอให้สิ้นงวดก่อน, ทำไงดี

11 รู้แล้ว…… ต้องใช้ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
ก่อนอื่นต้องหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานก่อน

12 ตัวอย่างการคำนวณ - อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต
กิจการก่อสร้างแห่งหนึ่งตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตประจำปี เท่ากับ 9,000,000 บาท โดยเลือกตัวผลักดันต้นทุน คือชั่วโมงแรงงานทางตรง คาดว่าในปี จะมีชั่วโมงแรงงานทางตรงเท่ากับ 200,000 ชั่วโมง อัตราค่าใช้จ่าย = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิตคิดเข้างาน ตัวผลักดันต้นทุน = 9,000,0000 200,000 = บาท/ชั่วโมง

13 ราคายื่นประกวดราคาเท่ากับ
รู้แล้ว…… ต้องใช้ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน ก่อนอื่นต้องหาอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานก่อน ต้นทุนอาคาร 10 ชั้น D/M ,000 ต่อชั้น10 ชั้น 1,500,000 D/L ,000 ฿20 1,200,000 A/OH 60,000 ฿45 2,700,000 รวมต้นทุนการผลิต 5,400,000 Markup (180%) ,720,000 เพราะฉะนั้น ราคายื่นประกวดราคาเท่ากับ 9,720,000 บาท

14 วิธีการคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
อัตราค่าใช้จ่าย = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิตคิดเข้างาน ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การคาดการณ์งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตที่จะใช้เพื่อการผลิตตลอดทั้งปี โดยอาศัยข้อมูลสถิติและการวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตประกอบ

15 ตัวผลักดันต้นทุน กิจการสามารถกำหนดต้นผลักดันต้นทุนได้ โดยเลือกใช้ตัวผลักต้นทุนที่สำคัญที่สุดที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น ในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ตัวผลักดันต้นทุนที่สำคัญได้แก่ ชั่วโมงแรงทางตรงที่ใช้ในการผลิต ยิ่งมีชั่วโมงการผลิตมากก็จะมีค่าใช้จ่ายการผลิตสูงตามไปด้วย โดยทั่วไปชนิดของตัวผลักดันต้นทุนที่เป็นที่นิยมใช้ได้แก่ 1. ชั่วโมงแรงานทางตรง 2. ต้นทุนแรงงานทางตรง 3. ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง 4. ชั่วโมงเครื่องจักร 5. หน่วยผลิตเสร็จ

16 ชนิดตัวผลักดันต้นทุน
ก่อสร้าง ชนิดตัวผลักดันต้นทุน -ชั่วโมงแรงงานทางตรง -ต้นทุนแรงงานทางตรง -ต้นทุนวัตถุดิบ

17

18 ภัตตาคาร ชนิดตัวผลักดันต้นทุน -ชั่วโมงการทำการงานของพ่อครัว
ต้นทุนวัตถุดิบ จำนวนจานที่ถูกเสริฟ จำนวนโต๊ะที่บริการ

19

20 โรงงานอุตสาหกรรม ชนิดตัวผลักดันต้นทุน -ชั่วโมงเครื่องจักร
-กำลังการผลิตของเครื่องจักรต่อปีงบประมาณ

21

22 ระดับกำลังการผลิต (Capacity)
ระดับอุดมคติ ระดับที่มีประสิทธิภาพ ระดับปกติ ระดับงบประมาณ

23

24 การบันทึกข้อมูลต้นทุน ตามระบบต้นทุนงานสั่งทำ
บัตรต้นทุนงาน เอกสารสำคัญสำหรับการบันทึก รวบรวมข้อมูลของงานแต่ละงานที่ผลิต ติดตามกระบวนการ

25 การคำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิต
อัตราค่าใช้จ่าย= งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต การผลิต ประมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน = $3,200,000 800,000 DLH = $4 per DLH

26 Job-Order Cost Accounting

27 Job-Order Cost Accounting
A materials requisition form is used to authorize the use of materials on a job. Let’s see one

28 Materials Requisition Form
Will E. Delite

29 Materials Requisition Form
Cost of material is charged to job A-143. Will E. Delite

30 Materials Requisition Form
Type, quantity, and total cost of material charged to job A-143. Will E. Delite

31 Materials Requisition Form
The materials requisition form also serves as the source document for recording material usage in the accounting records. Will E. Delite

32 Job-Order Cost Accounting

33 Job-Order Cost Accounting
Accumulate direct labor costs by means of a work record, such as a time ticket, for each employee. Let’s see one

34 Employee Time Ticket

35 Job-Order Cost Accounting

36 Job-Order Cost Accounting
Apply manufacturing overhead to jobs using a predetermined overhead rate based on direct labor hours (DLH). Let’s do it

37 Job-Order Cost Accounting

38 รับจ้างผลิตมากกว่า 1 งาน
เมื่อบริษัทนี้ รับจ้างผลิตมากกว่า 1 งาน

39 Accumulating Costs in a Job-Order Costing System
Charge direct material costs to each job as the materials are used. Direct Materials Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

40 Accumulating Costs in a Job-Order Costing System
Direct Materials Charge direct labor costs to each job as the work is performed. Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

41 Accumulating Costs in a Job-Order Costing System
Direct Materials Apply overhead to each job using a predetermined rate. Job No. 1 Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

42 Accumulating Costs in a Job-Order Costing System
Direct Materials Job No. 1 Special documents are used to track costs for each job. Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3

43 คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป
บัตรต้นทุนงาน บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ D /M WIP Goods คุมยอดค่าแรง D / L อัตราค่าใช้จ่าย การผลิตคิดเข้างาน A/OH ต้นทุนขาย ขาย ค่าใช้จ่ายการผลิต คิดเข้างานสูง(ต่ำ)ไป ค่าใช้จ่ายขาย และบริหาร OH กำไรขาดทุน กำไรสะสม

44 ตัวอย่างต้นทุนงานสั่งทำ

45 บริษัท สไตล์เฟอร์นิเจอร์ จำกัด
บริษัท สไตล์เฟอร์นิเจอร์ จำกัด เมื่อดำเนินงานมาได้เป็นเวลา 1 ปีก็พบกับปัญหาการคำนวณ และตีราคาสินค้าที่ผลิต เนื่องจากบริษัทใช้ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทำตามจ่ายจริงบริษัทจึงตัดสินใจที่จะเปลี่ยนมาเป็นวิธีต้นทุนงานสั่งทำวิธีต้นทุนปกติก่อนจะเปลี่ยนมาใช้วิธีต้นทุนปกติบริษัทจึงจัดการผลิตสินค้าตามที่ลูกค้าสั่งให้เสร็จ และส่งมอบสินค้าทั้งหมดที่ผลิตเสร็จเรียบร้อย โดยจะแสดงวิธีคิดบัตรต้นทุนงานสั่งทำ จากข้อมูลมีงานสั่งทำ 4 งาน 2 เดือนคือ 1. เตียงนอนไม้สัก(ม.ค.) 3. ฉากกั้นห้อง(ก.พ.) 2. ตู้ไม้สัก(ม.ค.) 4. โต๊ะเครื่องแป้ง(ก.พ.)

46 ในเดือนมกราคม งานเลขที่ 2/001 ใส่ข้อมูลรายระเอียดต่างๆเกี่ยวกับงาน

47 งานเลขที่ 2/001 ใส่ยอดที่เบิกวัตถุดิบ

48 งานเลขที่ 2/001 ใส่ค่าแรงงานทางตรงจากใบสรุปค่าแรง

49 งานเลขที่ 2/001 นำจำนวนชั่วโมงค่าใช้จ่ายการผลิตมาจากจำนวนชั่วโมงแรงงานทางตรง ส่วนอัตราค่าใช่จ่ายการผลิตขึ้นอยู่ที่การประมาณการของบริษัทในที่นี้คือ 9

50 งานเลขที่ 2/001 รวมยอดค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยแยกค่าใช้จ่ายแต่ละตัว

51 งานเลขที่ 2/001 นำเอาค่าใช้จ่ายสามอย่างข้างต้นมารวมกันเป็นต้นทุนการผลิต

52 งานเลขที่ 2/001 นำต้นทุนมา Makeup เป็นราคาขาย 518,000 X (170/100)

53 งานเลขที่ 2/002

54 งานเลขที่ 2/002

55 งานเลขที่ 2/002

56 งานเลขที่ 2/002

57 งานเลขที่ 2/002 ขีดเส้นไว้ก่อนเนื่องจากงานที่ทำยังไม่เสร็จภายในเดือนมกราคม

58 จากบัตรต้นทุนงานสั่งทำใช้วัตถุดิบเพื่อการผลิต โดยบัตรเลขที่ 2/001 จำนวน 400,000 บาท และบัตรเลขที่ 2/002 จำนวน 400,000 บาท

59 รวมค่าแรงจากบัตรต้นทุนงานเลขที่ 2/001 จำนวน 100,000 บาท และบัตรเลขที่ 2/002 จำนวน 25,000 บาท

60 รวมค่าใช้จ่ายจากบัตรต้นทุนเลขที่ 2/001 จำนวน 18,000 บาท และบัตรเลขที่ 2/002 จำนวน 4,500 บาท

61 เนื่องจากบัตรเลขที่ 2/002 ยังผลิตไม่เสร็จที่มีต้นทุนรวมเท่ากับ 429,500 บาท

62 ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน 22,500 บาท
ค่าใช้จ่ายการผลิตจ่ายจริง ,700 บาท คิดเข้างานสูงไป บาท ต้องนำไป หัก ออก ต้องมีการปรับปรุงต้นทุนขายก่อนเพราะต้นทุนขายที่เกิดขึ้นจริง ไม่เท่ากับที่เราคำนวณโดยวิธีต้นทุนปกติ ซึ่งในที่นี้ต่างกันอยู่ 800 บาท

63

64 เดือนกุมภาพันธ์

65 เดือนกุมภาพันธ์ งานเลขที่ 2/002
นำบัตรต้นทุนเลขที่ 2/002 ที่ยังผลิตไม่เสร็จมาผลิตต่อในเดือนกุมภาพันธ์

66 งานเลขที่ 2/002 นำต้นทุนที่ใช้ในเดือนกุมภาพันธ์มาบันทึกเพิ่ม

67 งานเลขที่ 2/002

68 งานเลขที่ 2/002

69 งานเลขที่ 2/002

70 งานเลขที่ 2/002

71 งานเลขที่ 2/003

72 งานเลขที่ 2/003

73 งานเลขที่ 2/003

74 งานเลขที่ 2/003

75 งานเลขที่ 2/003

76 งานเลขที่ 2/003

77 งานเลขที่ 2/004

78 งานเลขที่ 2/004

79 งานเลขที่ 2/004

80 งานเลขที่ 2/004

81 งานเลขที่ 2/004 ขีดเส้นไว้ เพราะยังผลิตไม่เสร็จ

82 รวมต้นทุนวัตถุดิบจาก
บัตรต้นทุนเลขที่ 2/003 จำนวน 2,000บาท และบัตรเลขที่ 2/ จำนวน 500,000 บาท รวม 502,000 บาท

83 รวมต้นทุนค่าแรงจาก บัตรเลขที่ 2/002 จำนวน 35,000 บาท บัตรเลขที่ 2/003 จำนวน 40,000 บาท บัตรเลขที่ 2/004 จำนวน 50,000 บาท

84 รวมค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานจาก
บัตรเลขที่ 2/002 จำนวน 6,300 บาท บัตรเลขที่ 2/003 จำนวน 7,200 บาท บัตรเลขที่ 2/004 จำนวน 9,000 บาท

85 จากบัตรต้นทุนเลขที่ 2/002 ที่มีต้นทุนมาแล้วบางส่วนจากเดือนมกราคม จึงต้องนำมาบวกเพิ่มในเดือนนี้

86 จากที่สิ้นงวด งานเลขที่ 2/004 ยังผลิตไม่เสร็จ แต่มีการใช้ต้นทุนไปบางส่วนแล้วเป็นจำนวน 559,000 บาท

87 สิ้นงวดมีงานเลขที่ 2/003 ที่ผลิตเสร็จแล้วแต่ยังมิได้ส่งมอบลูกค้า

88 ส่วนต่างระหว่างการคำนวณวิธีต้นทุนปกติกับต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง

89

90 สรุป

91 การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
การบัญชีต้นทุนงานสั่งทำ คือ วิธีการบัญชีเก็บรวบรวมและสะสมต้นทุน การผลิตของงานตามคำสั่งผลิตของลูกค้า เนื่องจากคำสั่งการผลิตแต่ละ งานจะแตกต่างกัน จึงจะต้องรวบรวมและสะสมต้นทุนแยกตามคำสั่งผลิต

92 องค์ประกอบต้นทุนผลิตภัณฑ์
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต ต้นทุนจริง จริง ต้นทุนปกติ ประมาณการ

93 ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
คำนวณอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานขึ้นใช้ อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน = งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต ปริมาณกิจกรรมตัวผลักดันต้นทุน นำอัตราไปใช้ในการคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนค่าใช้จ่ายผลิตเป็น = ปริมาณกิจกรรมตัวผลักดัน x อัตราค่าใช้จ่ายการ ส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์ ต้นทุนเกิดขึ้นจริง ผลิตคิดเข้างาน

94 Accumulating Costs in a Job-Order Costing System
Direct Materials Job No. 1 Special documents are used to track costs for each job. Direct Labor Job No. 2 Manufacturing Overhead Job No. 3


ดาวน์โหลด ppt ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google