ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Principles of Communication Arts
หลักนิเทศศาสตร์ Principles of Communication Arts
2
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
บทที่ 4 องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
3
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร การสื่อสารของมนุษย์ มีองค์ประกอบพื้นฐานหลัก 4 องค์ประกอบ 1.ผู้ส่งสาร 2.ผู้รับสาร 3.สาร 4.สื่อ Here comes your footer Page 3
4
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร องค์ประกอบที่ควรนำมาพิจารณาเพื่อให้เห็นปรากฏการณ์การ สื่อสารได้ชัดเจนและครบถ้วนอีก 5 องค์ประกอบ 5.ปริบทของการสื่อสาร 6. สิ่งรบกวนการสื่อสาร 7. ปฏิกิริยาตอบกลับ 8.ผลของการสื่อสาร 9.จริยธรรมในการสื่อสาร Here comes your footer Page 4
5
หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งเป็นผู้ริเริ่ม หรือเป็นจุดเริ่มต้น ในการส่งสารไปยังผู้รับสาร 1. ผู้ส่งสาร (sender) Sender Here comes your footer Page 5
6
2. ผู้รับสาร (Receiver) หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ได้รับสารซึ่งส่งมาจากผู้ส่งสาร หรืออีกนัยหนึ่งผู้รับสารก็คือจุดหมายปลายของสาร Receiver Here comes your footer Page 6
7
ปัจจัยที่ควรพิจารณาและเกี่ยวข้องกับผู้ส่งสารและผู้รับสาร
1.ทักษะในการสื่อสาร ประกอบด้วย 1.1ทักษะในการสื่อสารด้วยวัจนภาษา 1.2 ทักษะในการสื่อสารด้วยอวัจนภาษา โดยทักษะในการสื่อสารมีอิทธิพลต่อผู้รับและส่งสาร คือ สามารส่งและรับสารได้ตาม วัตถุประสงค์ที่กำหนด Here comes your footer Page 7
8
ปัจจัยที่ควรพิจารณาและเกี่ยวข้องกับผู้ส่งสารและผู้รับสาร
2.ทัศนคติ โดยทัศนคติของผู้รับสารและส่งสารย่อมส่งผลต่อการสื่อสาร โดยทัศนคติของ ผู้รับและผู้ส่งสารสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท 2.1 ทัศนคติที่ผู้รับสารและส่งสารมีต่อตนเอง 2.2 ทัศนคติต่อเรื่องที่จะสื่อสาร 2.3 ทัศนคติต่อผู้รับสาร Here comes your footer Page 8
9
ปัจจัยที่ควรพิจารณาและเกี่ยวข้องกับผู้ส่งสารและผู้รับสาร
3.ความรู้ 3.1 ความรู้ในเรื่องที่จะสื่อสาร หากผู้รับสารและส่งสาร มีความรู้ความเข้าใจเรื่องนั้นเป็น อย่างดีผลให้เกิดความมั่นใจในการสื่อสาร และเข้าใจในสารได้อย่างชัดเจน 3.2 ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสื่อสาร ซึ่งจะส่งผลต่อพฤติกรรมในขณะสื่อสารและ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสื่อสารของผู้ส่งสารและผู้รับสาร Here comes your footer Page 9
10
ปัจจัยที่ควรพิจารณาและเกี่ยวข้องกับผู้ส่งสารและผู้รับสาร
4.สถานภาพทางสังคมและวัฒนธรรม ภูมิหลังและวัฒนธรรมของผู้รับสารและผู้ส่งสารต่อ ความรู้ ทัศนคติพฤติกรรม ความรู้สึก ความเข้าใจระหว่างกัน หากภูมิหลังของผู้รับสาร และผู้ส่งสารมีความใกล้เคียงกันประสิทธิภาพของการสื่อสารก็จะมากขึ้นด้วย 5.ขอบเขตประสบการณ์ หากคู่สื่อสารมีประสบการณ์ต่างๆร่วมกัน ก็จะช่วยให้เข้าใจ ความหมายของการสื่อสารได้สอดคล้องกัน Here comes your footer Page 10
11
3. สาร (Message) หมายถึง หมายถึงผลผลิตที่เกิดจากการเข้ารหัสของผู้ส่งสารเพื่อส่งไปยังผู้รับ สารและกระตุ้นให้ผู้รับสารเกิดการตอบสนอง Here comes your footer Page 11
12
ปัจจัยที่ควรพิจารณาและเกี่ยวข้องกับสาร
1.รหัสของสาร หมายถึง กลุ่มของสัญลักษณ์ซึ่งใช้แทน หรือให้ความหมายสิ่งต่างๆ ได้แก่ วัจนภาษา 2.เนื้อหาของสาร หมายถึง ข้อความที่ต้องการจะใช้สื่อความหมายแก่ผู้รับสาร 3.การเลือกและจัดลำดับข่าวสาร หมายถึง การตัดสินใจเลือกและจัดลำดับของรหัส และเนื้อหาสาร Here comes your footer Page 12
13
4. ช่องสารและสื่อ หมายถึง
4. ช่องสารและสื่อ หมายถึง 1.ตัวกลางในการนำสารจากผู้ส่งสารมายังผู้รับ สาร ได้แก่คลื่นแสง เสียง วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น 2.พาหนะของสิ่งที่นำสารไปสู่ประสาทรับ ความรู้สึกทั้ง 5ของมนุษย์ ได้แก่การเห็นการได้ ยิน การได้กลิ่น และการสัมผัส 3.วิธีการเข้ารหัสและถอดรหัส เช่น การใช้ วิธีการพูด เขียน เป็นต้น Here comes your footer Page 13
14
ตารางแสดงเกณฑ์การแบ่งประเภทของสื่อ
ช่องสารและสื่อ เกณฑ์การแบ่งประเภท ประเภทของสื่อ ตัวอย่างสื่อ 1.แบ่งตามลักษณะของสื่อ 1.สื่อธรรมชาติ 2.สื่อบุคคล 3.สื่อสิ่งพิมพ์ 4.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5.สื่อระคนสื่อซึ่งไม่สามารถจัดเข้า 4 ประเภทข้างต้น อากาศ แสง เสียง พิธีกร ผู้บรรยาย แผ่นพับ ใบปลิว หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ศิลาจารึก สื่อพื้นบ้าน 2.แบ่งตามธรรมชาติของสื่อ/การเข้ารหัส 1.สื่อวัจนะ 2.สื่ออวัจนะ คำพูด ตัวหนังสือ ภาษากาย ปริภาษา ฯลฯ 3.แบ่งตามจำนวนและการเข้าถึงผู้รับสาร 1.สื่อระหว่างบุคคล 2.สื่อมวลชน 3.สื่อเฉพาะกิจ 4.สื่อประสม จุดหมายก การประชุม วิทยุ โทรทัศน์ นิตยสาร คู่มือ สื่อประชาสัมพันธ์ การใช้สื่อทั้ง 3ประเภทร่วมกัน 4.แบ่งตามประสาทการรับรู้ 1.สื่อที่รับรู้ด้วยการเห็น 2สื่อที่รับรู้ด้วยการฟัง 3.สื่อที่รับรู้ด้วยการเห็นและการฟัง รูปภาพ หนังสือ นิตยสาร วิทยุ เทปเสียง โทรทัศน์ ภาพยนตร์ 5.แบ่งตามการพัฒนาของสื่อหรือแบ่งตามยุคสมัย 1.สื่อดั้งเดิม 2.สื่อร่วมสมัยหรือสื่อใหม่ 3.สื่ออนาคต เสียงกลอง สัญญาณควัน อินเทอร์เน็ต เทเลเวิร์ค และการประชุมทางไกล เป็นต้น Here comes your footer Page 14
15
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ
โดยในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ ต้อง คำนึงถึง ปัจจัยต่อไปนี้ ได้แก่ ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร สารปัจจัยเกี่ยวกับสื่อ ปฏิกิริยาตอบกลับ และ ผลที่เกิดจากสื่อสาร โดยสามารถสรุป เกณฑ์ประกอบการตัดสินใจเลือกใช้สื่อ ได้ดังนี้ 1.ความหน้าเชื่อถือและความนิยมของสื่อในสายตาผู้รับสาร 2,ศักยภาพของสื่อในการเข้าถึงผู้รับสารทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ 3,โอกาสในการมีส่วนร่วมของผู้รับสารเพื่อส่งเสริมให้เกิดประสิทธิผล 4.โอกาสในการเกิดปฏิกิริยาตอบกลับที่ต้องการ Here comes your footer Page 15
16
ปัจจัยในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ
5. ความสามารถของสื่อในการส่งสารและเก็บรักษาสารให้คงคุณภาพ 6. ความคุ้มค่าโดยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เกิดจากสื่อ 7. ศักยภาพของสื่อในการสร้างอิทธิพลเหนือผู้รับสาร เพื่อก่อให้เกิด ความเปลี่ยนแปลง ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้รับสาร ที่สอดคล้องกับวัตถุประ สงค์ของผู้ส่งสาร Here comes your footer Page 16
17
5. ปริบทของการสื่อสารหรือสิ่งแวดล้อมทางการสื่อสาร
พฤติกรรมมนุษย์ที่แสดงออกนับเป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมทาง สังคม ดังนั้นพฤติกรรมของคู่สื่อสารที่แสดงต่อกันในกระบวนการ สื่อสารย่อมได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมทางสังคม Here comes your footer Page 17
18
ปริบทของการสื่อสารหรือสิ่งแวดล้อมทางการสื่อสาร
ปริบทของการสื่อสารหรือสิ่งแวดล้อมทางการสื่อสาร ประเภทของปริบทหรือสิ่งแวดล้อมทางการสื่อสาร 1.ปริบทหรือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 2.ปริบทหรือสิ่งแวดล้อมทางสังคม 3.ปริบทหรือสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก เหตุการณ์การสื่อสารที่ผ่านมา 4.ปริบทหรือสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา 5.ปริบทหรือสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม Here comes your footer Page 18
19
หมายถึง 6. สิ่งรบกวนการสื่อสาร
6. สิ่งรบกวนการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่สกัดกั้นหรือเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนระหว่างคู่สื่อสาร ทำให้คู่สื่อสาร ไม่สามารถรับหรือรับสารที่บิดเบือนไม่จากที่ผู้ส่งสารต้องการ Here comes your footer Page 19
20
สิ่งรบกวนการสื่อสาร ประเภทของสิ่งรบกวนการสื่อสาร
สิ่งรบกวนการสื่อสาร ประเภทของสิ่งรบกวนการสื่อสาร 1. สิ่งรบกวนทางกายภาพหรือสิ่งรบกวน ภายนอก ได้แก่ เสียง อากาศ เป็นต้น 2. สิ่งรบกวนทางจิตใจหรือสิ่งรบกวนภายใน ได้แก่ จิตใจ อารมณ์ความรู้สึก 3. สิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นในสื่อ เช่น คลื่นรบกวน ภาพซ้อน ขนาดของตัวอักษรที่ไม่เหมาะสม 4. สิ่งรบกวนที่เกิดจากภาษา เช่น คำยาก คำที่มี ความหมายกำกวม การเรียงคำที่ไม่สมบูรณ์ Here comes your footer Page 20
21
7. ปฏิกิริยาตอบกลับ(Feedback)
หมายถึง ปฏิกิริยาหรือสารซึ่งผู้รับสารแสดงตอบกลับไปยังผู้ส่งสาร หลังจากสารที่ได้รับการถอดรหัสและแปลความหมายแล้ว Here comes your footer Page 21
22
ปฏิกิริยาตอบกลับ(Feedback)
ตารางเกณฑ์การแบ่งประเภทและประเภทของปฏิกิริยาตอบกลับ เกณฑ์การแบ่งประเภท ประเภทของปฏิกิริยาตอบกลับ 1.แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปฏิกิริยาตอบกลับ 1. ปฏิกิริยาตอบกลับทันทีทันใด เกิดขึ้นในการสื่อสารแบบเห็นหน้าค่าตา 2. ปฏิกิริยาตอบกลับ ล่าช้า เกิดขึ้นในการสื่อสารผ่านสื่อ 2.แบ่งตามปฏิกิริยาตอบกลับ 1.ปฏิกิริยาตอบกลับเชิงบวก แสดงถึงการตอบรับความพึงพอใจ การสนับสนุนของผู้รับสาร 2. ปฏิกิริยาตอบกลับเชิงลบ แสดงความคัดค้านไม่เห็นด้วย ความไม่พอใจ การต่อต้านของผู้รับสาร 3.แบ่งตามรหัสที่ใช้ในการสื่อสาร 1. ปฏิกิริยาตอบกลับเชิงวัจนภาษา 2. ปฏิกิริยาตอบกลับอวัจนภาษา โดยการใช้ภาษาท่ทาง 4.แบ่งตามความตั้งใจในการส่งปฏิกิริยาตอบกลับ 1.ปฏิกิริยาตอบกลับโดยตั้งใจ เพื่อให้ผู้ส่งสารทราบถึงปฏิกิริยาตอบกลับของผู้รับสารโดยตั้งใจ 2. ปฏิกิริยาตอบกลับโดยไม่ตั้งใจ เกิดจากความไม่ตั้งใจ แต่ผู้ส่งสารทราบโดยคาดเดา Here comes your footer Page 22
23
ปฏิกิริยาตอบกลับ(Feedback)
ปฏิกิริยาตอบกลับส่ผลต่อกระบวนการสื่อสาร 2 ประเภท 1.ทำให้ผู้ที่ส่งสารทราบว่าผู้รับสารได้สารที่ส่งไปหรือไม่ 2.ปฏิกิริยาตอบกลับในเวลาต่อมาจะเป็นตัวกำหนดเนื้อหาของสารและวิธีการสื่อสารใน ครั้งต่อไป Here comes your footer Page 23
24
การเปลี่ยนแปลง หรือความแตกต่างซึ่งเกิดขึ้น
8. ผลของการสื่อสาร หมายถึง การเปลี่ยนแปลง หรือความแตกต่างซึ่งเกิดขึ้น กับผู้สื่อสารหลังจากที่ได้รับสาร Here comes your footer Page 24
25
ผลของการสื่อสาร ตารางแสดงเกณฑ์การแบ่งประเภท ของผลที่เกิดจาการสื่อสาร
ของผลที่เกิดจาการสื่อสาร Here comes your footer Page 25
26
9. จริยธรรมในการสื่อสาร
9. จริยธรรมในการสื่อสาร หมายถึง การใช้ความเชื่อ ค่านิยมและหลักศีลธรรมในการกำกับ หรือ ควบคุม พฤติกรรมการสื่อสาร Here comes your footer Page 26
27
จริยธรรมในการสื่อสาร
ดังนั้นการมีปฏิสัมพันธ์ของคู่สื่อสารต้องพิจารณาถึงมิติทางจริยธรรม โดย พิจารณาถึงประสิทธิผลหรือความล้มเหลวของการสื่อสาร ความพอใจ หรือไม่พอใจจากการสื่อสารควบคู่ไปกับความถูกต้องละความไม่ต้องการมี ศีลธรรมและไร้ศีลธรรม จริยธรรมในการสื่อสาร Here comes your footer Page 27
28
THE END
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.