ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยขจี พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
2
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ ๖๕ ตำบล ๖๔๓ หมู่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๗๔ แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลเมือง ๑ แห่ง เทศบาลตำบล ๔๗ แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล ๒๕ แห่ง
3
สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๑. การจัดการขยะมูลฝอยทั่วไป ปริมาณขยะ ๕๐๒ ตัน / วัน รวมทั้งปี ๑๘๓, ๒๓๐ ตัน อปท. ที่มีการเก็บรวบรวมขยะ ๓๙ แห่ง ( ร้อย ละ ๕๓ ) ปริมาณขยะที่จัดเก็บ ๑๔๖ ตัน / วัน อปท. ที่ไม่มีการจัดเก็บขยะ ๓๔ แห่ง ( ร้อยละ ๔๗ ) สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ๒๕ แห่ง โดยวิธีเท กอง ฝังกลบ 3
4
สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๒. การจัดการขยะมูลฝอยอันตราย คณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด พัทลุง มอบให้ อบจ. พัทลุง เป็นหน่วยงานหลัก ในการจัดการมูลฝอยอันตราย ซึ่งกำหนดให้มีการ นำส่งขยะอันตรายส่งให้ อบจ. พัทลุง ในวัน สิ่งแวดล้อมโลกของทุกปี ( ๕ มิถุนายน ) โรงพยาบาลมีการคัดแยกและเก็บรวบรวมขยะ อันตรายทุกแห่ง 4
5
สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๓. การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลของรัฐ ๑๑ แห่ง ( รพท. ๑ แห่ง รพช. ๑๐ แห่ง ) โรงพยาบาลเอกชน ๑ แห่ง ( โรงพยาบาลปิยะ รักษ์ ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๑๒๕ แห่ง คลินิกคน ๑๓๒ แห่ง ( แพทย์ ๔๖ พยาบาล ๖๐ ทันตแพทย์ ๒๒ เทคนิคการแพทย์ ๔ ) คลินิกสัตว์ ๑๐ แห่ง ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ประมาณ ๕๐๐ กก./ วัน โรงพยาบาลกำจัดเอง ๑ แห่ง ( รพ. เขาชัยสน ) จ้างบริษัทเอกชนกำจัด ( บริษัทเซฟวัน ) จำนวน ๑๐ แห่ง มีการจัดทำเอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติด เชื้อ 5
6
แผนการดำเนินงานจัดการขยะมูล ฝอยจังหวัดพัทลุง ๑. มีคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด พัทลุง และได้มีการประชุม เพื่อขับเคลื่อนนโยบายตาม Roadmap ของ รัฐบาล ๒. แผนงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด พัทลุง ๒. ๑ การกำหนดพื้นที่จังหวัดเป็น ๒ โซน เพื่อเป็น ศูนย์รวมมูลฝอยจากชุมชน คือ โซนเหนือ ( ทต. มะกอกเหนือ และ ทม. เมือง ) และโซนใต้ ( ทต. แม่ขรี และ ทต. ท่ามะเดื่อ ) ๒. ๒ กำหนดแผนจัดการมูลฝอยตกค้างสะสมใน สถานที่กำจัด ( ขยะเก่า ) 6
7
แผนการดำเนินงานจัดการขยะมูล ฝอยจังหวัดพัทลุง 3. โครงการรณรงค์สร้างจิตสำนึกในการลดขยะใน ระดับครัวเรือน ชุมชนภายใต้การ สนับสนุนของส่วนราชการ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 4. การรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร โดยสนับสนุนการใช้วัสดุ จากธรรมชาติ หรือวัสดุทดแทนที่มีความปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยได้เชิญชวนให้สถานบริการสาธารณสุขเป็น ต้นแบบ และประชาสัมพันธ์ ขยายผลไปยังหน่วยงานอื่นๆ และประชาชนทั่วไป 7
8
การจัดการน้ำเสียโรงพยาบาล ตามบทบัญญัติในมาตรา ๘๐ แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๕๕ กำหนดให้ โรงพยาบาลขนาด ตั้งแต่ ๓๐ เตียง ขึ้นไป ต้องจัดทำบันทึก ( แบบ ทส ๑ ) และส่ง รายงานข้อมูลน้ำเสีย ( แบบ ทส ๒ ) ส่งให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่นที่ตั้ง โรงพยาบาล ทุกเดือน โรงพยาบาลทุกแห่งได้ดำเนินการถูกต้องแล้ว 8
9
การจัดการสิ่งปฏิกูล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดการสิ่ง ปฏิกูล จำนวน ๕ แห่ง ๑. ทม. เมืองพัทลุง มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน และ ระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลชำรุด ๒. ทต. ควนขนุน มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๓. ทต. เขาชัยสน มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๔. ทต. ท่ามะเดื่อ มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๕. ทต. แม่ขรี มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ไม่มีผู้ประกอบการเอกชน ยื่นขออนุญาต ประกอบกิจการดูดสิ่งปฏิกูล ในจังหวัดพัทลุง 9
10
ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติยัง ไม่ครอบคลุม และไม่ได้บังคับใช้ให้มีประสิทธิภาพ ๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขาดความพร้อม ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งควรสร้าง ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น เพื่อขับเคลื่อนการ ดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ 10
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.