งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Aree Thattiyaphong Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Aree Thattiyaphong Ph.D."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Aree Thattiyaphong Ph.D.
ไม่มี DRA ได้ไหม Aree Thattiyaphong Ph.D. NIH, DMSc.

2 Specimen ที่ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ป่วย นิยาม 1. ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวน ไข้ >38C +ประวัติสัมผัสโรค ในช่วง 21 วัน ก่อนเริ่มป่วย: 1.1 อาศัยอยู่หรือเดินทางมาจากประเทศที่เกิดโรค 1.2 สัมผัส ผป หรือศพของ ผป ที่สงสัยติดเชื้อไวรัสอีโบลา 1.3 สัมผัสโดยตรงกับสัตว์จำพวกค้างคาว หนู ลิง สัตว์ป่าเท้ากีบที่มาจากพื้นที่เกิดโรค 2.ผู้ป่วยสงสัย 1 + มีอาการเลือดออกผิดปกติ/มีอาการรุนแรงที่เกิดหลายระบบอวัยวะและทรุดลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งผู้เสียชีวิตที่มีอาการดังกล่าวโดยที่ไม่ทราบสาเหตุอื่นๆที่ชัดเจน 3. ผู้ป่วยน่าจะเป็น 1+ผป สงสัยที่มีประวัติสัมผัส ผป หรือศพ หรืสารคัดหลั่งของ ผป ยืนยัน/น่าจะเป็นผู้ติดเชื้อไวรัสอีโบลา หรือ ผป ที่เสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุรายอื่น 4. ผู้ป่วยยืนยัน 1+2/ผป ยืนยันที่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบการติดเชื้อไวรัสอีโบลา

3 Signs and Symptom Typical -Fever -Headache -Joint and muscle aches
-Weakness -Diarrhea -Vomiting -Stomach pain -Lack of appetite May experiences - A rash - Red eyes -Hiccups -Cough -Sore throat -Chest pain -Difficulty breathing -Difficulty swallowing -Bleeding inside and outside of the body Low WBC , Platelet count, elevated liver enzymes อาการคล้าย -Malaria -Typhoid fever -Cholera -Lassa (VHF)

4 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยแยกโรค ชื่อโรค ระยะฟักตัว (วัน) อาการสำคัญ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 1. Shigellosis 1-3 (12-96 h) ท้องเสีย อาจถ่ายเป็นเลือด ร่วมกับมีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน Stool culture CBC 2. Typhoid 6-30 ไข้ ปวดศีรษะ ผื่น อาการทีระบบทางเดินอาหาร Hemoculture 3. Malaria* Pf 7-14 Pv 12-18 Po Pm 18-40 ไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ Rapid test Thick & thin film 4. Lassa* fever 7-21 ไข้ เจ็บคอ ไอ คอหอยอักเสบ ใบหน้าบวม PCR 5. Dengue fever 2-7 ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ มีจุดเลือดออก * West Africa endemic area

5 Pathogenesis Ebola virus Lymphocyte decrease Cell necrosis
Dysregulation of coaggu factor Mucus membrane Broken Skin injection apoptosis Monocyte, macrophage, dendritic cell, endothelial cell, fibroblasts, hepatpytes Adrenal corticol cells, epithelial cells Lymphnodes, liver, spleen,

6 Routine Laboratory findings
CBC Clin Chem Leukopenia Lymphopenia Amylases increase Platelet 50, ,000 AST, ALT increase PT, PTT prolong

7 -Ebola detection Real-Time RT-PCR : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ : คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Routine laboratory ทำที่ไหน ทำอย่างไร

8 Routine Laboratory for suspected EVD specimens
รพสต รพช. คลินิค รพ. เอกชน ไม่ควรตรวจ ส่งต่อผู้ป่วยไปยัง รพ ที่รับ ผป Refer จัดให้มี DRA (Designated Receiving Area) รพท. รพศ. ที่รับผป refer ตรวจ routine lab

9 DRA (Designated Receiving Area)
ห้องปฏิบัติการ routine laboratory ห้องปฏิบัติการระดับ 2 + practice ระดับ 3 รับตัวอย่าง เตรียมตัวอย่าง ตรวจตัวอย่าง ทำลายตัวอย่าง เก็บตัวอย่างถ้าจำเป็น

10 DRA : BSL-2, Practice 3

11 DRA Personal Protective Equipment (PPE) อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
เครื่องมือ /อุปกรณ์ Personal Protective Equipment (PPE) อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล BSC class II goggle, face shield long sleeve gown glove, N95 mask Shoe cover เครื่องปั่น bucket มีฝาปิด Autoclave (เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อ) ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง Automated analyzer CBC, CHEM (closed system) อ่างล้างมือ ห้องเปลียนเสื้อผ้า

12 Routine Laboratory Nucleic acid detection (Non-ebola detection)
Hematology CBC Malaria Rapid test (malaria) Blood Chemistry -Electrolyte -Bun, Creatinine -LFT -Amylase -Microbiology -Hemoculture Serology/Immunology Rapid test (Dengue) -Blood bank (No cross-matching) ให้เลือด (PRC) group O Rh negative FFP group AB Nucleic acid detection (Non-ebola detection) PCR ต้องสกัดด้วยชุดน้ำยาในพื้นที่เฉพาะ MALARIA, DENGUE ทำรายการทดสอบเท่าที่จำเป็นและน้อยที่สุด ไม่ต้อง heat-inactivation ตัวอย่าง

13 ตรวจ มาลาเรียควรทำทันที
Q.Is it safe to perform malaria investigations on suspected VHF patients in a routine diagnostic laboratory? Yes, it is safe to perform malaria investigations and indeed these tests are critical in the management of patients with suspected VHF. Malaria investigations should be carried out urgently when VHFs are suspected. ตรวจ มาลาเรียควรทำทันที malaria Reference: Public Health England, August 2014

14 การส่ง specimen ตรวจ non-EVD testing ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาล
ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ 1 แจ้งเจ้าหน้าที่ DRA ล่วงหน้า อย่างน้อย 30 นาที ผู้ส่ง 2. เก็บตัวอย่าง นำส่ง DRA (ไม่ส่งทางลิฟท์ ราง ท่อสุญญากาศ) ถึงมือผู้รับ 3. เตรียมตัวอย่าง วิเคราะห์ ตัวอย่าง Lab 4. ทดสอบเสร็จ เก็บ หรือ ทำลาย ตัวอย่าง

15 บุคลากรห้องปฏิบัติการ
ก่อนปฏิบัติงานบุคลากรห้องปฏิบัติการ คนทำความสะอาด ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจ non-EVD, EVD testing ต้องถูกเจาะเลือด 10 ml เก็บไว้ บุคลากรมีทักษะ และได้รับการอบรมอย่างเพียงพอ ใช้บุคลากร 2-3 คน ในการทำงานแต่ละครั้ง ขั้นตอนในการทำงานน้อยที่สุด บันทึกเวลาเข้า-ออก การรับ-ส่งตัวอย่าง ห้าม จนท. ที่ตั้งครรภ์ หรือ จนท ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ ทำงานใน DRA ถ้าได้รับอุบัติเหตุ สัมผัส ตัวอย่างต้องสงสัย ต้องพบแพทย์ และถูกเฝ้าระวัง อย่างน้อย 21 วัน ต้องรายงานอาการทุกวัน ผู้รับผิดชอบต้องรายงานอุบัติเหตุตามระบบ

16 DRA เร่งด่วน รพศ ที่รับ ผป (25 Aug, 2014)
Face shield Goggle Head cover Glove N95 mask Long sleeve gown DRA 36 ตารางเมตร (25 Aug, 2014) เร่งด่วน (ภายใน 1 เดือน) รพศ ที่รับ ผป BSC II (จุลชีววิทยา) ตรวจ rapid test จัด DRA เร่งด่วน รพ กทม ปริมนฑล ส่ง สถาบันบำราศฯ 1-6 เดือน 1.รพศ/รพท ทีถูกกำหนด 2. รพ กรมการแพทย์ในกทม จัดหาห้อง จัดหาเครื่องมือ 1-12 เดือน รพศ/รพท ทุกแห่ง พร้อมจัดตั้ง DRA

17 กระทรวงสั่งการ รพศ. 26 แห่ง
กระทรวงสั่งการ รพศ. 26 แห่ง 1. รพศ เชียงรายประชานุเคราะห์ เชียงราย 14. รพศ. ระยอง 2. รพศ นครพิงค์ เชียงใหม่ 15. รพศ. สมุทรปร่การ 3. รพศ พุทธชินราช 16. รพศ. ขอนแก่น 4. รพศ สวรรค์ประชารักษ์ จ. นครสวรรค์ 17. รพศ. สกลนคร 5.รพศ. สระบุรี 18. รพศ. อุดรธานี 6. รพศ. นครปฐม 19. รพศ. มหาราชนครราชสีมา 7. รพศ หัวหิน 20. รพศ. สรรพประสิทธิประสงค์ 8. รพศ. เจ้าพระยายมราช จ. สุพรรณบุรี 21 รพศ. มหาราชนครศรีธรรมราช 9. รพศ. ราชบุรี 22 รพศ. วชิระภูเก็ต 10. รพศ. พระปกเกล้า 23 รพศ. สุราษฎร์ธานี 11 รพศ. พุทธโสธร 24 รพศ. ตรัง 12.รพศ. ชลบุรี 25 รพศ. ยะลา 13. รพศ. เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ 26 รพศ. หาดใหญ่

18 การติดตาม สรุป ห้อง แยก (DRA) 1.1 มีแล้ว 1.2 อยู่ระหว่างดำเนินการ
1.1 มีแล้ว 1.2 อยู่ระหว่างดำเนินการ 1.3 ไม่มีแผน เครื่องมือ + PPE 2.1 มีแล้ว 2.2 อยู่ระหว่างดำเนินการ 2.3 ไม่มีแผน 3. การอบรม 3.1 ได้รับการอบรม 3.2 ยังไม่ได้รับการอบรม สรุป เปิดบริการได้ 1.1, 2.1, 3.1 อยู่ระหว่างดำเนินการ ไม่มีแผน 1.3

19 DRA ผู้ป่วยต้องการการรักษาที่ได้มาตรฐาน 1. ทำไมต้องมี DRA
ประเทศต้องการควบคุมไม่ให้เชื้อแพร่การจายสู่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ผู้ปฏิบัติงานต้องการความปลอดภัย

20 กรมวิทย์เคยเสนอ ทำได้ ต้องทำด้วยความระมัดระวัง
2. ถ้าไม่วิเคราะห์ตัวอย่างใน DRA นำตัวอย่างไปตรวจด้วย fully automated ในพื้นที่งานประจำได้ไหม กรมวิทย์เคยเสนอ ทำได้ ต้องทำด้วยความระมัดระวัง ต้องหยุดงานประจำ ประมาณ 1 ชม. ไม่แนะนำให้ทำในพื้นที่งานประจำ

21 3. ไม่มี Ebola แล้ว DRA จะใช้ประโยชน์อะไร
VHF ARENAVIRIDAE Old world arenaviruses -Lassa -Lujo New world arenaviruses Chapare Guannrito Junin Machupo Sabia FLAVIVIRIDAE Kyasanur forest disease Alkhurma haemorrhagic fever Omsk haemorrhagic fever BUNYAVIRIDAE Nairoviruses -Crimean Congo hemorrhagic fever FILOVIRIDAE Ebola Marburg Other diseases -MERS-CoV -Avian FLU -SARS Source:

22 ไม่มี DRA ได้ไหม

23 THANK YOU FOR YOUR ATTENTION


ดาวน์โหลด ppt Aree Thattiyaphong Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google