งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
เคมี ม.5 ว30223 พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา ครูธนพล ถัดทะพงษ์ โรงเรียนสากเหล็กวิทยา

2 พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พลังงานเคมี เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร การเกิดปฏิกิริยาจะมีพลังงานที่เกี่ยวข้อง 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ขั้นดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะเดิมในสารตั้งต้น ขั้นที่ 2 ขั้นคายพลังงานเมื่อสร้างพันธะใหม่ในผลิตภัณฑ์

3 ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic Reaction)
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะของสารตั้งต้น มากกว่า พลังงานที่คายออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่ โดยปฏิกิริยาดูดความร้อน สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์

4 สำหรับสมการแสดงปฏิกิริยาดูดความร้อนสามมารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
สารตั้งต้น + พลังงาน ผลิตภัณฑ์ หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (+) ผลจากปฏิกิริยาดูดความ คือ สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานลดลง หรืออุณหภูมิลดลง เมื่อนำมือมาสัมผัสจะรู้สึกเย็น

5 ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction)
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะของสารตั้งต้น น้อยกว่า พลังงานที่คายออกมาเมื่อสร้างพันธะใหม่ โดยปฏิกิริยาคายความร้อน สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์

6 สำหรับสมการแสดงปฏิกิริยาดูดความร้อนสามมารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์+ พลังงาน หรือ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ DE = (-) ผลจากปฏิกิริยาคายความ คือ สิ่งแวดล้อมจะมีพลังงานเพิ่มขึ้น หรืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เมื่อนำมือมาสัมผัสจะรู้สึกร้อน

7 พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้เพื่อตอบคำถาม
(kJ/mol) ? แผนภาพดังกล่าวเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน ? พลังงานสารตั้งต้นมีค่าเท่าไร ? พลังงานผลิตภัณฑ์มีค่าเท่าไร ? พลังงานสารเชิงซ้อนกัมมันต์มีค่าเท่าไร ? ปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อนเท่าไร

8 พิจารณาแผนภาพต่อไปนี้เพื่อตอบคำถาม
(kJ/mol) ? แผนภาพดังกล่าวเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน ? พลังงานสารตั้งต้นมีค่าเท่าไร ? พลังงานผลิตภัณฑ์มีค่าเท่าไร ? พลังงานสารเชิงซ้อนกัมมันต์มีค่าเท่าไร ? ปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อนเท่าไร

9 พิจารณาสมการต่อไปนี้แล้วระบุว่าเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนหรือคายความร้อน
1) N2(g) + O2(g) + พลังงาน NO(g) 2) CO(g) + NO2(g) CO2 + NO(g) + พลังงาน 3) O3(g) + O(g) O2(g) DE = -392 kJ 4) O(g) + H2O(g) OH (g) DE = +72 kJ

10 พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation Energy, Ea)
พลังงานน้อยที่สุดที่ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีค่าเท่ากับผลต่างพลังงานของสารเชิมซ้อนกัมมันต์และสารตั้งต้น

11 ในปฏิกิริยาเคมีที่มีพลังงานก่อกัมมันต์น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็ว เนื่องจากสารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ง่าย

12 จากแผนภาพการเกิดปฏิกิริยาที่กำหนดให้ ปฏิกิริยาใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่า


ดาวน์โหลด ppt พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google