ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Introduction to Animal Virus
ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว
2
กำเนิดของไวรัส สมมุติฐาน 3 ประการ 1. Regressive therory
ยีนที่ไม่ต้องการจะมีการสูญหาย ทำให้จุลชีพมีขนาดเล็กลง เชื่อว่าไวรัสเกิดภายหลังจากที่เซลล์เกิดขึ้น ไวรัสมีวิวัฒนาการจากโมเลกุลที่ง่ายที่สุด เชื่อว่าไวรัสเกิดพร้อมกับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น RNA น่าจะเป็นจุดกำเนิดของชีวิต ไวรัสชนิดแรกน่าจะเป็น RNA virus
3
3. ไวรัสมีต้นกำเนิดจาก RNA หรือ DNA ของเซลล์
พบว่ายีนที่สร้างเอนไซม์ RNA polymerase มีลำดับเบสบางส่วนคงที่ เชื่อว่าไวรัสได้ยีนบางอย่างมาจากเซลล์ด้วยวิธี Recombination เนื่องจาก RNA virus ขนาดใหญ่มีเอนไซม์ที่คล้ายกับของ host cell เชื่อว่าไวรัสเกิดภายหลังจากที่เซลล์เกิดขึ้น
4
Viruses ภาษาละติน แปลว่า สารพิษ จุลชีพขนาดเล็ก (20-350 นาโนเมตร)
ตรวจหาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน เพิ่มจำนวนได้ในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น จึงจัดเป็น Obligate intracellular microorgamism
5
การค้นพบเชื้อไวรัส ค.ศ. 1892 : Dimitri Iwanowski
สารสกัดจากใบยาสูบที่เป็นโรค ผ่านเครื่องกรองแบคทีเรีย ก่อโรคติดเชื้อในพืชต้นอื่น ค.ศ : Martinus Beijerinick Tabacco mosaic virus เป็นสาเหตุก่อโรคในต้นใบยาสูบ
6
ค.ศ Loeffler and Frosch ค้นพบ Foot and mouth disease virus ค.ศ Karl Landsteiner และ E.Popper พบว่า poliomyelitis มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส
7
ค.ศ Frederick Twort และ Felix d’ Herelle ค้นพบ Bacteriophage (eater of bacteria) หลังจากปี 1930 มีการศึกษาลักษณะ โครงสร้าง พันธุศาสตร์ และการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัส
8
การศึกษาคุณสมบัติของเชื้อไวรัส
วิธีทางฟิสิกส์ (Physical method) วิธีทางเคมี (Chemical method) การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน (Electron microscopy)
9
1. วิธีทางฟิสิกส์ ตรวจคุณสมบัติในการตกตะกอนของไวรัส
1. วิธีทางฟิสิกส์ ตรวจคุณสมบัติในการตกตะกอนของไวรัส - ปั่นตกตะกอนด้วยเครื่อง ultracentrifuge - ตรวจวัด Relative density ของอนุภาคไวรัส - ทำให้ไวรัสบริสุทธิ์ และไวรัสในปริมาณที่มาก
10
Ultracentrifugation (UC)
- ปั่นตกตะกอนด้วยความเร็วสูง ผ่าน homogenous medium; sucrose,CsCl
11
1) Zonal Ultracentrifugation
แยกอนุภาคไวรัสที่บริสุทธิ์โดยใช้ความแตกต่างด้านขนาด และรูปร่าง ใช้ sucrose gradient
12
เติมตัวอย่างลงใน gradient
อัตราการตกตะกอน (Sedimentation rate) แสดงเป็น sedimentation coefficient, S อัตราการตกตะกอนขึ้นกับขนาดของโมเลกุล ปั่นแยก Sedimentation coefficient ที่ 1x10-13 วินาทีเรียกว่า Svedberg (S) unit
13
2) Equilibrium density gradient ultracentrifugation
ตัวอย่าง + สารลาย CsCl, Cs2SO4 ปั่นตกตะกอนจนถึงจุดสมดุล เกิด gradient ของความเข้มข้น โดยความหนาแน่น จะเพิ่มขึ้นไปตามทิศทางของแรงปั่นตกตะกอน
14
ตำแหน่งของส่วนประกอบแต่ละส่วนจะอยู่ที่
ตำแหน่งที่ความหนาแน่นของสารละลาย CsCL (solution density) = ความหนาแน่นของการลอยตัวของสารละลาย CsCL (buoyant density) แยกส่วนประกอบที่เห็นเป็นแถบได้อย่างชัดเจน
15
(2) ตรวจสอบโดยเครื่อง Spectrophotometer
ปริมาณกรดนิวคลีอิค : ตรวจสอบในช่วงคลื่น ultraviolet light คุณสมบัติในการกระจายแสง : ตรวจสอบในช่วงคลื่น visible light
16
(3) ตรวจสอบโดยเครื่อง Electrophoresis
วิเคราะห์กรดนิวคลีอิค วิเคราะห์โปรตีน
17
(4) ตรวจสอบโดยใช้ X-ray crystallography
ศึกษาโครงสร้างของไวรัส โดยใช้ ammonium sulphate หรือเกลือ
18
Crystallographic structure
1935: Tobacco mosaic virus (TMV) ตกผลึกโดย W. M. Stanley มีโครงสร้างเป็นแบบ helical structure 1950: Turnip yellow mosaic virus (TYMV) มีโครงสร้างเป็นแบบ isometric structure
19
Rhinovirus 14 (a common cold virus) as solved by X-ray crystallography
20
-ใช้สารที่ทำลายโปรตีน; urea,phenol,detergent
2. วิธีทางเคมี ตรวจหาชนิดกรดนิวคลีอิคของไวรัส ตรวจส่วนประกอบของโปรตีนในแคปซิดของไวรัส -การเปลี่ยนแปลง pH -ใช้สารที่ทำลายโปรตีน; urea,phenol,detergent Urea แยกโปรตีนที่จับกันโดย hydrophobic interaction Detergent แยกการจับกันของโปรตีน และไขมัน
21
3. การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน (Electron microscopy)
พัฒนาในปี 1930 แบ่งเป็น 2 ชนิด Transmission electron microscope (TEM) Scanning electron microscope (SEM) ใช้ลำแสงอิเลคตรอน ตรวจดูวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่า 0.2 ไมโครเมตร สามารถบอกรายละเอียดของโครงสร้างไวรัส และจำนวนอนุภาคไวรัสทั้งหมด (Total count)
22
Transmission electron microscope (TEM)
สามารถเห็นโครงสร้างวัตถุ ภายในและภายนอก เตรียมตัวอย่างบน supporting mesh แล้วทำให้เป็นแผ่นบาง บนผิวของตัวอย่าง coat ด้วยชั้นของคาร์บอน
23
TEM
24
TEM ความแตกต่างระหว่าง ultrastructure และ background ต่ำ
มีการย้อมสีเพื่อเพื่อความแตกต่าง โดยมีการดูดลำแสงอิเลคตรอนทำให้ภาพชัดขึ้น Negative stain ใช้ electron-dense dye: phosphotungstic acid, uranyl acetate เพิ่ม electro opacity รอบตัวอย่าง Positive stain ใช้ อิออนของโลหะขนาดเล็ก สามารถแทรกในตัวอย่างได้ มองเห็นตัวอย่างเป็น 2 มิติ และขยายขนาดของวัตถุ 10, ,000 เท่า
25
Negative staining only electrons which pass through the specimen are involved in the formation of the final image
26
Electron Micrograph Images
Herpes simplex virus type 2 Influenza virus
27
Scanning electron microscope (SEM)
มองเห็นตัวอย่างเป็น 3 มิติ และขยายขนาดของวัตถุ 1, ,000 เท่า
28
SEM
29
EM ใช้แอนติบอดีที่จำเพาะกับไวรัสแอนติเจน
การตรวจโดย EM อาจมีความผิดพลาดเนื่องจาก cellular organelle เช่น ribosome ใช้แอนติบอดีที่จำเพาะกับไวรัสแอนติเจน เชื่อม Antibody กับ electron-dense marker : iron-containing protein ferritin, colloidal gold immunoelectron microscopy
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.