ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhak-phimonphan Prugsanapan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา
2
เบาหวานคืออะไร ? ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติเกิดขึ้นจากตับอ่อนสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้น้อยลงหรือสร้างไม่ได้ หรือสร้างได้แต่ฮอร์โมนอินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่มีเท่าที่ควร ฮอร์โมนอินซูลินมีหน้าที่หลักคือเผาผลาญอาหารประเภทข้าว แป้งและน้ำตาล และช่วยรักษาระดับการเผาผลาญอาหารประเภทไขมันและโปรตีน เช่น เนื้อสัตว์ ถั่วต่างๆ ฯลฯ ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 1
3
ใคร ?เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
1.มีญาติสายตรง ( พ่อ แม่ พี่ น้อง ) ป่วยเป็นเบาหวาน 2.อ้วน ผู้ที่ถือว่าอ้วนมีเกณฑ์โดยวัดรอบเอวดังนี้ เพศชาย - มีรอบเอวมากกว่า 90 เซนติเมตร เพศหญิง - มีรอบเอวมากกว่า 80 เซนติเมตร 3.ไม่ออกกำลังกาย 4.เคยตรวจพบน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ 5.เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือเคยคลอดบุตร มีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า 4 กิโลกรัม 6.มีภาวะความดันโลหิตสูง 7.มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 2
4
อาการน่าสงสัย..เป็นเบาหวาน ?
1. ปัสสาวะบ่อยและมาก 5. อ่อนเพลียไม่มีแรง 6. เป็นแผลและหายช้า 2. กระหายน้ำ 3. หิวบ่อย 7. ติดเชื้อบ่อยๆซ้ำ ๆ 4. น้ำหนักลด 8. ตาพร่ามัว ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 3
5
ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน ?
1. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 2. โรคหลอดเลือดสมองตีบ ทำให้เป็นอัมพฤกษ์-อัมพาต 3. โรคไตวาย 4. จอประสาทตาเสื่อม ตาบอด 5. พิการ ถูกตัดขาเนื่องจากเป็นแผลที่ขา ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 4
6
หลักการรักษาเบาหวาน โรคเบาหวานไม่มียารักษาให้หายขาด ต้องดูแลตนเองดังนี้ 1. รับประทานยา / ฉีดยาลดน้ำตาลในเลือดตามแผนการรักษา 2. ควบคุมการบริโภคอาหาร เช่น - รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพิ่มอาหารที่มีใยอาหารสูง - หลีกเลี่ยงอาหาร/ผลไม้ที่มีรสหวานจัด - หลีกเลี่ยงอาหารทอด อาหารเค็ม อาหารไขมันสูง 3. ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง 4. ผ่อนคลายความเครียด 5. ตรวจน้ำตาลในเลือด/วัดความดันโลหิต พบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 5
7
ทำอย่างไร ? ไม่ให้เป็นเบาหวาน
1. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยวันละ 30 นาที ช่วยการไหลเวียนของเลือด คลายเครียดและทำให้นอนหลับ 2. ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ลดอาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีกากใยอาหาร 3. หลีกเลี่ยงสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดเบาหวานเช่น ภาวะเครียด การติดเชื้อไวรัสบางตัวซึ่งทำให้ตับอ่อน เกิดการอักเสบเรื้อรัง 4. ควรรับการตรวจโรคเบาหวาน อย่างน้อยปีละครั้ง ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา หน้า 6
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.