งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น

2 จำนวนผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 มิถุนายน 2551 ที่มา รายงาน AI1, AI2

3 ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 มิถุนายน 2551 ที่มา : ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์

4 โรค มือ เท้า ปาก พื้นที่เขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2551 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค อัตราป่วย / ประชากรแสนคน

5 จำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 เปรียบเทียบ ค่ามัธยฐาน (ปี 2546 – 2550) ที่มา รายงาน 506

6 อัตราป่วย : ปชก.แสนคน อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 มกราคม – 19 มิถุนายน 2551 ที่มา รายงาน 506 มีผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้น 327 ราย อัตราป่วย 4.33 ต่อประชากรแสนคน

7 จากการทบทวนรายงานสอบสวนโรคในประเทศไทย ปี 2550 * สำนักระบาดได้รับแจ้งข่าวการระบาดจำนวน 121 เหตุการณ์ ได้รับรายงาน สอบสวนโรค 118 เหตุการณ์ - ชุมชน/ ครอบครัว 52 เหตุการณ์ (44%) ผู้ป่วยรวม 80 ราย - ศูนย์เด็กเล็ก 41 เหตุการณ์ (35 %) ผู้ป่วยรวม 449 ราย - โรงเรียนอนุบาล/โรงเรียนประถมศึกษา 23 เหตุการณ์ (19%) จำนวนผู้ป่วย 290 ราย สถานที่เกิดการระบาดใน พื้นที่พบการระบาด จังหวัดขอนแก่น : อ.เมือง อ.หนองสองห้อง อ.ชนบท จังหวัดร้อยเอ็ด : อ.โพนทอง อ.เมยวดี

8 สถานการณ์อหิวาตกโรค พื้นที่เขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2551 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค อัตราป่วย / ประชากรแสนคน

9 สถานการณ์อหิวาตกโรค พื้นที่รับผิดชอบ สคร.ขก. ปี 2535 - 2551 จังหวัดหนองคาย 1 ราย (อ.เมือง) อุดรธานี 4 ราย (อ.กุดจับ 2 ราย อ.เมือง 1 ราย อ.หนองแสง 1 ราย) ขอนแก่น 1 ราย (อ.พล)

10 ภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่ประเทศจีน

11 เมื่อวันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม 2551 เวลา 13.28 น. เกิดแผ่นดินไหว 7.8 ริกเตอร์ ทางตะวันออกของมณฑล เสฉวน ประเทศจีน จุดศูนย์กลางที่เมือง เฉิงตู และมี Aftershock 5.0-6.0 ริก เตอร์ ตามมาอีกหลายครั้งอย่างต่อเนื่อง สาเหตุเกิดจากการขยับตัว แบบย้อนกลับ (Reverse Fault) ของรอยเลื่อน “ลอง เมนฉาน” (Longmenshan) ในอดีต เมื่อ 25 ส.ค. 2476 มณฑล เสฉวน เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.5 ริกเตอร์ มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 9,300 คน

12 แผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 14 มิ.ย. 2551 เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 6.8 ริกเตอร์ ความลึก 8-10 กม. มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากเมืองเซนไดใน จังหวัดอิวาเตะ ไปทางเหนือ 100 กม. aftershock ขนาด 4.4 – 5.5 ริกเตอร์ ตามมาอีก 40 ครั้ง การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่กระทบ ต่อประเทศไทย

13 สาเหตุ : จากการเคลื่อนตัวของแผ่น เปลือกโลกแปซิฟิกมุดตัวลงใต้แผ่น เปลือกโลก North America ด้วยอัตรา ความเร็ว 9.4 มิลลิเมตรต่อปี ทำให้ รอยเลื่อนเกิดการเคลื่อนตัวแบบ ย้อนกลับ (Reverse Fault)

14 คืออาการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ปกติเกิดจากการเคลื่อนไหว ของชั้นเปลือกโลก ความรุนแรงมีตั้งแต่ที่มนุษย์ไม่รู้สึกจนถึงขั้น ที่เกิดความเสียหายพังทลายของสิ่งก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน ถนนหนทาง เขื่อน เป็นต้น แผ่นดินไหว 2. วัดระดับความรุนแรงในการสั่น (intensity) มาตรวัด เรียกว่า Mercalli seale มีขนาดตั้งแต่ 1-12 การวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว วัดได้ 2 วิธีคือ 1. วัดขนาด (magnitude) โดยใช้เครื่องวัดแผ่นดินไหว (seismograph) มีหน่วยเป็นริคเตอร์ (Richter seale) มีขนาดตั้งแต่ 1.0 (รุนแรงน้อย) ถึง 9.0 (รุนแรงมาก)

15 1- 2.9 เล็กน้อย ผู้คนเริ่มรู้สึกถึงการมาของคลื่น มีอาการวิงเวียนเพียง เล็กน้อยในบางคน 3- 3.9 เล็กน้อย ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึกเหมือนมีอะไรมาเขย่าอาคารให้ สั่นสะเทือน 4- 4.9 ปานกลาง ผู้ที่อาศัยอยู่ทั้งภายในอาคาร และนอกอาคาร รู้สึกถึงการ สั่นสะเทือน วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว 5- 5.9 รุนแรง เป็นบริเวณกว้าง เครื่องเรือน และวัตถุมีการเคลื่อนที่ 6- 6.9 รุนแรงมาก อาคารเริ่มเสียหาย พังทลาย 7.0 ขึ้นไป เกิดการสั่นสะเทือนอย่างมากมาย ส่งผลทำให้อาคารและ สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เสียหายอย่างรุนแรง แผ่นดินแยก วัตถุ บนพื้นถูกเหวี่ยง มาตรวัดริคเตอร์

16 ซักถาม & ข้อเสนอแนะ


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google