ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พลังงานภายในระบบ
2
ตารางสรุปเครื่องหมาย ความหมาย
ความดัน ตัวอย่างวิธีทำ สรุป พลังงานภายในระบบของก๊าซ link
3
พลังงานภายในระบบ (Internal Energy)
หมายถึง ผลรวมของพลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ของโมเลกุลของระบบ ถ้าพลังงานภายในระบบเปลี่ยนไป และเราวัดโดยตรงไม่ได้ เรามักจะคิดจากอุณหภูมิของความร้อน
4
ถ้าระบบมี N โมเลกุล และแต่ละโมเลกุลมีพลังงานจลน์เฉลี่ยเป็นไปตามทฤษฎีจลน์ `Ek = (3/2)KBT
ดังนั้น พลังงานภายในระบบจึงเป็น U = (3/2) N KBT หรือ U = (3/2)nRT จะเห็นว่าพลังงานภายในของระบบขึ้นกับจำนวนของโมเลกุลและอุณหภูมิ
5
กฎข้อที่ 1 เทอร์มอไดนามิกส์ (Thermodynamics)
ให้พิจารณากระบอกบรรจุก๊าซในรูป F เมื่อให้ความร้อน DQ แก่ระบบ ระบบจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น แสดงว่าพลังงานภายในของระบบมีค่าเพิ่มขึ้น DX (คือ DU )และระบบจะขยายตัว (เกิด DW ) ซึ่งเป็นงานที่ระบบกระทำได้จากหลักอนุรักษ์พลังงาน จะได้ DQ = DU + DW
6
งานที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนปริมาตร สมมติว่ามีแก๊สเหลว หรือ gas ในกระบอกสูบที่มีลูกสูบ ให้กระบอกสูบมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ A แรงที่ระบบกระทำกับหน้าลูกสูบ เท่ากับ F ← DX → F → A
7
ความดัน P = F/A F = PA ถ้าลูกสูบเลื่อนออกมาเป็นระยะทาง DX จาก W = FS DW = FDX à PADX DW = PDV DV = ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง
8
สรุป 1. พลังงานภายในระบบ (U) คือ พลังงานรวมของโมเลกุลของแก๊สทุกตัวในขอบเขตที่กำลังพิจารณา สำหรับแก๊สอุดมคติ (Ideal gas) พลังงานภายในเป็นพลังงานจลน์เพียงอย่างเดียว 2. พลังงานภายในระบบขึ้นอยู่กับจำนวนของโมเลกุลและอุณหภูมิ 3. กฎข้อที่ 1 ของ Thermodynamics มีสมการคือ DQ = DW + DU 4. Adiabatic process เป็นกระบวนการทาง Thermodynamics ที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่มีความร้อนไหลเข้า หรือไหลออกจากระบบ เช่น กระบอกสูบในเครื่องยนต์ 5. Isochoric process เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยปริมาตรคงที่ ความดัน และอุณหภูมิเปลี่ยน เนื่องจากมีความร้อนไหลเข้าไปในระบบ เช่น การต้มน้ำให้เดือดในภาชนะเปิด 6. สรุปเครื่องหมาย ของ DU และ DW
9
ปริมาณ เครื่องหมาย DQ ความร้อนไหลเข้าสู่ระบบ + ความร้อนไหลออกจากระบบ _ DU พลังงานภายในระบบที่เพิ่มขึ้น พลังงานภายในระบบที่ลดลง DW งานที่ทำโดยระบบ งานที่ให้กับระบบ
10
ตัวอย่าง
11
พลังงานภายในระบบของก๊าซ
พลังงานภายในระบบของก๊าซ หมายถึง ผลรวมของพลังงานของโมเลกุลของก๊าซทั้งหมดในภาชนะหนึ่ง ๆ ที่พิจารณา ซึ่งจะมีค่ามากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและปริมาณของก๊าซ
12
เนื่องจาก โมเลกุลของก๊าซอุดมคติ มีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสูง อยู่ตลอดเวลา
ดังนั้น พลังงานของโมเลกุลของก๊าซ จึงอยู่ในรูปของพลังงานจลน์ เพียงอย่างเดียว พิจารณา พลังงานจลน์เฉลี่ยของก๊าซ 1 โมเลกุล จากสมการ Ek = k B T ถ้าให้ N = จำนวนโมเลกุลของก๊าซทั้งหมด ในภาชนะที่พิจารณา U = พลังงานภายในระบบของก๊าซที่พิจารณา (ในภาชนะที่บรรจุ) จะได้ว่า U = N …… (1) = N ( k B T ) หรือ U = N k B T ……………………………………(2)
13
กลับไปที่ link เมื่อ k B = ค่าคงตัว แสดงว่า U a N T
หมายความว่า “ พลังงานภายในระบบของก๊าซ ( U ) จะแปรผันตรงกับ จำนวนโมเลกุล ( N ) และ อุณหภูมิสัมบูรณ์ ( T ) ของก๊าซ ในภาชนะที่บรรจุนั้น กลับไปที่ link
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.