งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การป้องกันมะเร็งเต้านม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การป้องกันมะเร็งเต้านม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การป้องกันมะเร็งเต้านม
1. ตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2. ตรวจเต้านมโดยแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ หรือบุคลากรสาธารณสุข 3. ตรวจแมมโมกราฟี 4. ตรวจอัลตราซาวด์

3 การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
คือ การตรวจเพื่อค้นหาความผิดปกติ , เนื้องอกของเต้านมรวมทั้งต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ ด้วยตัวเอง ความสำคัญ 80 % ของมะเร็งเต้านมสตรีสามารถตรวจพบได้ด้วยตัวเอง

4

5 ภายในเต้านมของเรา ต่อมสร้างน้ำนม ท่อน้ำนม F.กล้ามเนื้อหน้าอก
A. , B. ,C. , D. ต่อมสร้างน้ำนม ท่อน้ำนม E.ไขมัน F.กล้ามเนื้อหน้าอก G.กระดูกซี่โครง

6 การเปรียบเทียบขนาดของก้อนในเต้านม
(1 ) ( 2 ) ( 3 ) ( 4 ) ( 5 ) 1.ขนาดของก้อนเนื้อที่คลำได้โดยคนที่ไม่เคยทำ BSC ( 3- 5 cms) 2.ขนาดของก้อนเนื้อที่คลำได้โดยคนที่ทำ BSC เป็นครั้งคราว ( 3 cms ) 3. ขนาดของก้อนเนื้อที่คลำได้โดยคนที่คลำเป็นประจำ( 2- 5 cms) 4. การ mammography ครั้งแรก (1 cm) 5. การ mammography ครั้งต่อไป ( เล็กกว่า 1 cm)

7 ตำแหน่งที่พบมะเร็งเต้านม

8 การกระจายของต่อมน้ำเหลืองรอบเต้านม

9 เทคนิคการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
1. ตรวจขณะอยู่หน้ากระจก 2. ตรวจขณะนอนราบ 3. ตรวจขณะอาบน้ำ

10 เวลาที่เหมาะสม ตั้งแต่อายุ 20 ปี ขึ้นไป ทำโดยสม่ำเสมอเป็นประจำทุกเดือน ในช่วง 3-10 วันหลังหมดประจำเดือน

11 วิธีที่ 1 ขณะอยู่หน้ากระจก
วิธีที่ 1 ขณะอยู่หน้ากระจก

12

13

14

15 การสัมผัส

16 การกด 3 ระดับ กดเบา กดปานกลาง กดหนัก

17

18

19 วิธีที่ 2 ขณะนอนราบ

20

21 วิธีที่ 3 ขณะอาบน้ำ

22

23

24 การคลำบริเวณรักแร้

25 ตรวจโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

26 การเปลี่ยนแปลงที่ต้องเฝ้าระวัง
1.มีก้อนที่รักแร้ 2.ก้อนไม่ยุบหลังหมดประจำเดือน 3.เต้านมสองข้างไม่เท่ากัน 4.มีรอยบุ๋ม ย่น ผิวหนังอักเสบ หัวนมแสบ-เจ็บ หดตัว 5.มีน้ำเลือด - น้ำเหลืองที่หัวนม

27 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การป้องกันมะเร็งเต้านม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google