งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ. 1975-1979.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ. 1975-1979."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ

2

3 ความเป็นมา ข้อตกลงที่เจนีวา กัมพูชาเป็นอิสระ
ข้อตกลงที่เจนีวา กัมพูชาเป็นอิสระ มีการเลือกตั้ง ค.ศ พรรคเจ้านโรดมสีหนุ มีสิทธิ์จัดตั้งรัฐบาล เป็นนายกรัฐมนตรี

4 1970 นายพลลอนนอลและเจ้าสิริมาตะโค่นล้มเจ้าสีหนุ เจ้าสีหนุ ตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น 1975 เขมรแดง (จีนสนับสนุน) ยึดพนมเปญ นำระบบคอมมิวนิสต์มาใช้อย่างเข้มงวด

5 เหตุการณ์ ค.ศ มีการปกครองกัมพูชาโดยการใช้ลัทธิคอมมิวนิสต์เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมด้วยวิธีรุนแรง โดยเฉพาะชนชั้นกลางและชนชั้นสูง มากกว่า 1 ล้านคน เป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์เดี่ยวกันเปรียบเสมือนยุคมืดของกัมพูชา

6 พลพต พล พต ชื่อว่าระบบสังคมนิยมจะนำกัมพูชา สู่ความเจริญรุ่งเรืองเหมือนในอดีตได้ โดยประเทศควรจะอยู่อย่างสันโดษ ไม่ต้องเพิ่งวิทยาการเทคโนโลยีใดๆ ขอให้มีข้าวกินก็อยู่ได้

7 มีการกวาดล้างผู้ที่เป็นปฏิปักษ์ทางความคิด นักศึกษาปัญญาชน แพทย์ วิศวกร นักปราชญ์ ศิลปิน คนใส่แว่นสายตาที่ดูเหมือนมีความรู้ เป็นภัยต่อความมั่นคง ปกครองยาก จะถูกฆ่าอย่างไร้เหตุผล พลพต ต้องการให้กัมพูชามีแต่ชนชั้นกรรมาชีพ

8 หอแก้ว อนุสรณ์แห่งความโหดเหี้ยม “ทุ่งสังหาร”ชานกรุงพนมเปญ

9 กระดูกมนุษย์ที่ทุ่งสังหาร
นักโทษถูกนำตัวจากคุกตุล สเลง ซึ่งอยู่ห่างจากตัวกรุงพนมเปญประมาณ 15 กิโลเมตรมาที่นี่

10

11 ทหารเขมรแดง

12

13 ห้องกักขังนักโทษ ที่Tuol Sleng

14 คุกหมายเลขS – 21ชื่อ (Tuol Sleng)
ที่พวกเขมรแดงดัดแปลงจากโรงเรียนมัธยม ประมาณว่ามีนักโทษในช่วงสี่ปีที่เขมรแดงเรืองอำนาจ ถึงประมาณ 17, ,000

15

16

17

18 การทรมานนักโทษ การทุบตี การใช้ไฟฟ้าช็อต การถอดเล็บ หรือการการบังคับให้กินอุจาระหรือปัสสาวะ การแขวนคอ นักโทษจะถูกล่ามอยู่ตลอดเวลาแม้แต่นอนหลับ หากอยู่ในห้องขังที่แคบมากจะถูกล่ามติดกับผนัง ถ้าอยู่ในห้องใหญ่ ๆ จะเป็นโซ่ยาวผูกติดกันทุกคน

19 หลังจากทรมาณนักโทษก็จะถูกส่งไปยัง เจืองแอ็ก (Choeung Ek) สวนผลไม้เก่า ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากกรุงพนมเปญซึ่งเป็นหนึ่งในทุ่งสังหาร (The Killing Field) เพื่อนำไปสังหารโดยวิธีการต่าง ๆ ยกเว้นการใช้กระสุน แล้วฝังศพเป็นหมู่ มีถึง 8,895ศพ ในหลุมขนาดใหญ่

20

21 แผนที่ประเทศกัมพูชาที่ทำด้วยหัวกระโหลกผู้เสียชีวิต

22 Vann Nath ตอนถูกจองจำ และภาพปัจจุบัน

23

24 ภาพการทำงานในค่าย Killing Fields

25

26 ภาพของประชานที่ถูกจองจำใน Tuol Sleng ช่วงที่พอลพตยึดครองในปี

27

28 การเมืองแยกเป็น 3 กลุ่ม
1978 กองกำลังเวียดนามขับไล่เขมรแดงออกจากกัมพูชาสนับสนุนให้นายเฮง สัมรินเป็นผู้นำกัมพูชา การเมืองแยกเป็น 3 กลุ่ม

29 เขมรสามฝ่าย เขมรแดง รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย
เขมรแดง รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย เขียว สัมพัน ประมุข นายพลพต เป็นนายกรัฐมนตรี เลขาธิการพรรค นาย เฮียง สารี เป็นรองนายกรัฐมนตรี

30 เขมรเสรี “กลุ่มแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติของประชาชนเขมร” มีผู้นำคือนายซองซาน
กลุ่มเจ้านโรดมสีหนุ “แนวร่วมแห่งชาติเพื่อเอกราช ความเป็นกลาง สันติภาพและความร่วมมือในกัมพูชา”

31 การแก้ไขปัญหาโดยกลุ่มอาเชียน
ยุติการรบในกัมพูชา ถอนทหารต่างชาติออกไป ให้มีการเลือกตั้งในกัมพูชา การจัดการเลือกตั้งอยู่ในความควบคุมของสหประชาชาติ

32 30 เม.ย. 1989 เวียดนามถอนทหารออกจากกัมพูชา
การเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชา 1993 พรรคฟุนซินเป็ก เจ้านโรดม รณฤทธิ์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 พรรคประชาชน สมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรีคนที่ 2

33 เจ้านโรดม สีหนุ สมเด็จฮุนเซน นโรดมรณฤทธิ์

34 เจ้าสีหนุสละราชสมบัติ ค. ศ
เจ้าสีหนุสละราชสมบัติ ค.ศ เจ้าชายนโรดม สีหมณี กษัติย์กัมพูชาองค์ต่อมา


ดาวน์โหลด ppt Killing Fields ในกัมพูชา ปี ค.ศ. 1975-1979.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google