ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
2302244 Electronic Lesson Conductometric Methods
อ.ดร. ปาริฉัตร วนลาภพัฒนา
2
Outline Introduction Normality Fundamentals of Electricity Ohm’s Law
Kirchoff’s Circuit Laws Wheatstone Bridge
3
Introduction CONDUCTOMETRIC METHODS เป็นการวิเคราะห์โดยการวัดการนำไฟฟ้า (conductance) ของสารละลาย ดังนั้น นิสิตควรทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไฟฟ้า (electricity) และนิยามสำคัญที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ...
4
Normality คือ จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร...
is the number of gram-equivalent of a solute per liter of solution… คือ จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร... when the number of gram-equivalent is weight of a solute divided by its gram-equivalent weight. โดย จำนวนกรัมสมมูล คือ น้ำหนักของตัวถูกละลาย / น้ำหนักกรัมสมมูล
5
Normality Normality (N) = N = น้ำหนักกรัมสมมูล คือ น้ำหนักเป็นกรัมของสารที่สามารถให้ประจุบวก หรือ ประจุลบ 1 โมล จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลาย สารละลาย 1 ลิตร น้ำหนักตัวถูกละลาย (กรัม) น้ำหนักกรัมสมมูล (กรัม/สมมูล) x ปริมาตรสารละลาย (ลิตร) จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลาย สารละลาย 1 ลิตร น้ำหนักตัวถูกละลาย (กรัม) น้ำหนักกรัมสมมูล (กรัม/สมมูล) x ปริมาตรสารละลาย (ลิตร) Normality (N) = N = น้ำหนักของหมู่บวกหรือหมู่ลบ จำนวนประจุของหมู่ น้ำหนักกรัมสมมูล =
6
Examples ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 36.5/1 g•eq-1
HCl 1 mol•dm-3 เท่ากับ 1 normal (N) HCl 1 mol (น้ำหนัก = 36.5 g) ให้ H+ 1 mol ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 36.5/1 g•eq-1 H2SO4 1 mol•dm-3 เท่ากับ 2 N H2SO4 1 mol (น้ำหนัก = 98 g) ให้ H+ 2 mol ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 98/2 = 49 g•eq-1
7
Fundamentals of Electricity
8
Ohm’s Law กฎที่แสดงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า (current, I) ความต่างศักย์ (voltage drop หรือ potential difference, V) และความต้านทาน (resistance, R)
9
Kirchoff’s Circuit Laws
Kirchoff’s current law ณ รอยต่อ (junction) ใดๆ กระแสไฟฟ้า ที่ไหลเข้า เท่ากับ กระแสไฟฟ้าที่ไหลออก i i3 = i i4 Kirchoff’s voltage law ผลรวมของศักย์ไฟฟ้าใน loop ใดๆ เป็นศูนย์ v1 + v2 + v3 + v4 = 0
10
Two Types of Circuits วงจรอนุกรม (series circuits)
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจะมีค่าเท่ากันหมดทั้งวงจร I = IR1 = IR2 = IR3 ดังนั้น Vtotal = IR1 + IR2 + IR3 Vtotal = VR1 + VR2 + VR3 และ IRtotal = IR1 + IR2 + IR3 Rtotal = R1 + R2 + R3 I
11
Two Types of Circuits วงจรขนาน (parallel circuits) Rtotal R1 R2 R3
Vtotal = VR1 = VR2 = VR3 Itotal = IR IR IR3 Vtotal = Vtotal + Vtotal + Vtotal = Itotal Rtotal R R R3 Rtotal R R R3
12
Wheatstone Bridge เป็นอุปกรณ์สำหรับตรวจวัดตัวต้านทาน
Rx = unknown resistance R1, R3 = known resistance R2 = adjustable known resistance Rg = resistance of galvanometer ปรับให้ค่าความต่างศักย์ระหว่างจุด B และ D เป็นศูนย์ (ig = 0) แล้ว R2 / R1 = Rx / R3
13
Wheatstone Bridge ณ รอยต่อ B และ D I3 – Ix – Ig = 0 --- (1)
I1 + Ig – I2 = (2) loop ABD และ BCD I3 R3 + Ig Rg – I1 R1 = (3) Ix Rx – I2 R2 – Ig Rg = (4)
14
Wheatstone Bridge เมื่อ bridge สมดุล Ig = 0 จาก (1) และ (2) Rx = R2 R3
I3 = Ix --- (1) และ I1 = I2 --- (2) I3 R3 = I1 R (3) Ix Rx = I2 R (4) (4) / (3) Rx = I2 R2 I3 R3 I1 R1 Ix จาก (1) และ (2) Rx = R2 R3 R1
15
References อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.